1 / 192

การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 วันที่ 7 มีนาคม 2551 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมระแงะ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส. ประเด็นนำเสนอ. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

Download Presentation

การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 วันที่ 7 มีนาคม 2551 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมระแงะ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส

  2. ประเด็นนำเสนอ • ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  3. 1 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  4. ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 หลักธรรมาภิบาล Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ประสิทธิภาพ Efficiency ความคุ้มค่าของเงินValue-for-Money ประสิทธิผลEffectiveness คุณภาพQuality ภาระรับผิดชอบ Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การมีส่วนร่วมของประชาชนParticipation เปิดเผยโปร่งใสTransparency ตอบสนอง Responsiveness กระจายอำนาจ Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย นิติรัฐ Rule of law 4

  5. ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผล สัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ การลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะ อย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้” 6

  6. ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 7

  7. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) 50% ประโยชน์สุข ของประชาชน ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • ความโปร่งใส ภายนอก • อำนวยความสะดวก และตอบสนองความ ต้องการของประชาชน Customer Perspective คุณภาพ 20% • ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ระดับความ พึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ • การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร • การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ 10% • ปรับปรุงระบบการทำงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ภายใน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ 20% • เสริมสร้างขีดสมรรถนะ (เก่ง) และจริยธรรม (ดี)ของข้าราชการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Strategy Map / Balanced Scorecard 9

  8. 2 ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  9. 1) ขั้นตอนการเจราจาข้อตกลงตัวชี้วัด ในมิติที่ 1 ของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษา รวบรวมและจัดทำรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการบรรลุ เป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัดในมิติที่ 1 เสนอ อ.ก.พ.ร. พิจารณาให้ความเห็นชอบ จังหวัดเสนอตัวชี้วัดมายัง สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2550 ที่ปรึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมของตัวชี้วัดที่จังหวัดเสนอมา ตัวชี้วัดใดไม่เป็นไปตามรายการตัวชี้วัด ที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ ตัวชี้วัดทุกตัวที่จังหวัดเสนอ เป็นไปตามรายการตัวชี้วัด ที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ เจรจากับคณะกรรมการเจรจาฯ (เวทีเจรจา /วีดีทัศน์ทางไกล) สรุปผล แจ้งคณะกรรมการเจรจาฯ และจังหวัด สรุปผล และแจ้งจังหวัด จัดทำคำรับรองฯ

  10. การติดตามผล จังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร . จังหวัดจัดส่งรายงานการติดตามงาน(SAR) รอบ 6 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร./ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามความก้าวหน้า การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit : Pre-Evaluation) จังหวัด/ จัดส่งรายงานการติดตามงาน(e-SAR Card) รอบ 9 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผล จังหวัดจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือน (Self Assessment Report) ให้สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit : Post-Evaluation) ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล/นำเสนอคณะกรรมการ เจรจาข้อตกลงและประเมินผล สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ไม่อนุมัติ อนุมัติ นำผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ

  11. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 15-16 พ.ย..

  12. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  13. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  14. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  15. 3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  16. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ - การเสริมสร้างธรรมาภิบาล มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด • ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล (ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด) • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ - ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน - การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร -การบริหารจัดการองค์กร

  17. มิติที่ 2 (ร้อยละ 20) มิติที่ 1 (ร้อยละ 50) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10) มิติที่ 4(ร้อยละ 20) 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด • ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล(ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด) • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ • คุณภาพการให้บริการ • การเสริมสร้างธรรมาภิบาล มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยรวม KM,IT, Individual Scorecard

  18. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  19. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  20. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  21. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  22. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  23. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  24. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  25. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  26. 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 11 (13)

  27. 4 รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  28. มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการมิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ - ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด - ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล (ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด) - การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ - การเสริมสร้างธรรมาภิบาล - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ - ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน - การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร -การบริหารจัดการองค์กร

  29. รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”

  30. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1(น้ำหนักร้อยละ 12) (โดยกำหนดน้ำหนักของตัวชี้วัดกลุ่มจังหวัดรวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3) “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” กลุ่มจังหวัดกขคง 5 5 {(3 x 20%) + (5 x 15%) + (4 x 20%) + (5 x 25%) + (2x 20%)} 100% 4 3 KPI 2 KPI 4 2 KPI 3 3.8 KPI 1 KPI 5 จังหวัด ก3.8 จังหวัด ข3.8 จังหวัด ค3.8 จังหวัด ง3.8 20% 15% 20% 25% 20% ตัวอย่างการกระจายคะแนน: ผลคะแนนที่ได้รับจากตัวชี้วัดในระดับกลุ่มจังหวัด กขคง. (ได้คะแนนเท่ากับ 3.8) จะกระจายไปเป็นคะแนนของตัวชี้วัดในระดับจังหวัด

  31. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1 “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหมู่บ้านที่ได้รับการสร้าง ความเข้มแข็งในการรักษาความปลอดภัย (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก)

  32. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหมู่บ้านที่ได้รับการสร้างความเข้มแข็งในการ รักษาความปลอดภัย (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) จำนวนหมู่บ้านที่แต่ละประเภท = จำนวนหมู่บ้านทั้งหมดของ 3 จังหวัด สูตรคำนวณ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหมู่บ้านที่ได้รับ การสร้างความเข้มแข็งในการรักษาความปลอดภัย X 100

  33. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • ทบทวนแผนในปีงบฯ 2550 / วิเคราะห์จุดอ่อน, จุดแข็งของมาตรการที่ใช้ปฏิบัติการ

  34. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • จัดทำแผนปฏิบัติการ/มาตรการในการรักษาความปลอดภัยและป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ประจำปีงบประมาณ 2551 และมีการรายงานติดตามผลการปฏิบัติงานทุกไตรมาสให้ผู้บริหารจังหวัดและหน่วยงานที่รับผิดชอบ

  35. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • แผนปฏิบัติการ/มาตรการมีผลสัมฤทธิ์ 50% • แผนปฏิบัติการ/มาตรการมีผลสัมฤทธิ์ 60%

  36. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • แผนปฏิบัติการ/มาตรการมีผลสัมฤทธิ์ 70%

  37. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.1.3 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้าอาหารฮาลาล(น้ำหนัก 1.5) (จ.ปัตตานี: เจ้าภาพหลัก) มูลค่าของสินค้าอาหารฮาลาลปี 2551- มูลค่าของสินค้าอาหารฮาลาลปี 2550 มูลค่าของสินค้าอาหารฮาลาลปี 2550 สูตรคำนวณ X 100

  38. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.1.4 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน(น้ำหนัก 1.5) (จ.นราธิวาส: เจ้าภาพหลัก) สูตรคำนวณ มูลค่าการค้า ชายแดนกลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ 2551– มูลค่าการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดปี 2550 มูลค่าการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดปี 2550 X 100

  39. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวม จังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0)

  40. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • หน่วยงานผู้จัดทำข้อมูลรายสาขาทบทวนผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในปีที่ผ่านมา เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการจัดทำสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายสาขา และกระบวนการดำเนินงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น (0.50 คะแนน)

  41. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • จัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการจัดทำสถติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายสาขาให้ครอบคลุมกิจกรรมการผลิตที่มีในจังหวัดเพิ่มมากขึ้น รวมทั้ง บรรณาธิกรณ์ข้อมูลรายสาขาตามหลักวิชาการและบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล (Excel file) ซึ่งไม่ใช่แบบคำนวณ GPP-3 (2.00 คะแนน)

  42. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • จัดทำมูลค่าเพิ่มในแบบคำนวณ GPP-3 เป็นรายสาขา และแสดงอัตราการเติบโต (Growth Rate) ระหว่างปี โครงสร้างการผลิต (Structure) ในสาขา สัดส่วน IC/GO, VA/GO ทั้งในราคาประจำปีและราคาคงที่ • (1.00 คะแนน)

  43. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลการจัดทำเบื้องต้นร่วมกันระหว่างผู้จัดทำและหน่วยงานที่สนับสนุนข้อมูล โดยมีการประชุมร่วมกับผู้แทน ธปท.ภาค สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หอการค้าจังหวัด สมาคมธนาคาร สมาคมโรงแรม สศช.ภาค ฯลฯ คลังเขตที่รับผิดชอบพื้นที่และผู้ประกอบการ เพื่อปรับปรุงการจัดทำมูลค่าเพิ่มรายสาขาให้มีความถูกต้องและสะท้อนภาวะที่เป็นจริงในพื้นที่ (0.75 คะแนน)

  44. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • สำนักงานคลังจังหวัดรวบรวม GPP ทั้ง 16 สาขา และแสดงอัตราการเติบโต และโครงสร้างการผลิต ทั้งในราคาประจำปีและราคาคงที่ พร้อมทั้งวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างสาขา อธิบายเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงระหว่างปีในภาพรวมและรายสาขา โดยจะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์จริงในพื้นที่ รวมถึงต้องทำการปรับปรุงเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากหน่วยงานที่สนับสนุนให้ข้อมูลและคณะกรรมการ GPP จังหวัด (075 คะแนน)

  45. ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 1 (0.50 คะแนน) • ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข

  46. ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 2 (2 คะแนน) มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน)

  47. ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 2 (2 คะแนน) มิติเชิงคุณภาพ (1.00 คะแนน)

  48. ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 3 (1 คะแนน)

  49. ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 4 (0.75 คะแนน)

  50. ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 5 (0.75 คะแนน)

More Related