1 / 23

ข้อมูลท้องถิ่น ต.ขามเฒ่าพัฒนา อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

ข้อมูลท้องถิ่น ต.ขามเฒ่าพัฒนา อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม. ประวัติความเป็นมา ตำบลขามเฒ่าพัฒนาตั้งเมื่อปี 32 โดยแยกตำบลออกจากตำบลคันธารราษฎร์ ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาไทยอีสาน นับถือศาสนาพุทธ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอกันทรวิชัย ประกอบด้วย 21 หมู่บ้าน. สภาพทั่วไปของตำบล.

rhea
Download Presentation

ข้อมูลท้องถิ่น ต.ขามเฒ่าพัฒนา อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลท้องถิ่น ต.ขามเฒ่าพัฒนา อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

  2. ประวัติความเป็นมา ตำบลขามเฒ่าพัฒนาตั้งเมื่อปี 32 โดยแยกตำบลออกจากตำบลคันธารราษฎร์ ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาไทยอีสาน นับถือศาสนาพุทธ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอกันทรวิชัย ประกอบด้วย 21 หมู่บ้าน

  3. สภาพทั่วไปของตำบล พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีลูกคลื่นลอนลาด และบางแห่งเป็นที่ราบลุ่มต่ำ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 29.55 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 18,468.75 ไร่

  4. อาณาเขตตำบล • ทิศเหนือ ติดกับ ต.โคกพระ อ.กันทรวิชัย • ทิศใต้ ติดกับ ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย • ทิศตะวันออก ติดกับ ต.กุดใส้จ่อ และ ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย • ทิศตะวันตก ติดกับ ต.คันธารราษฎร์ อ.กันทรวิชัย

  5. จำนวนประชากรของตำบลจำนวนประชากรทั้งสิ้น 7,219 คน ชาย 3,914 คน หญิง 3,305 คน ข้อมูลอาชีพของตำบลอาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม ทอผ้า เลี้ยงโค

  6. ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบลข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล • อบต. ขามเฒ่าพัฒนา • โรงเรียนขามเฒ่า (ขามเฒ่าผดุงศิลป์) • วัดท่าเรียบ • วัดบ้านดอนเปลือย • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • วัดป่าขามเฒ่าวังน้ำเย็น

  7. ประวัติกลุ่มแม่บ้านเกษตรตำบลขามเฒ่าเริ่มแรกมีสมาชิกประมาณ 12 คน ต่างพากันปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โดยมี นางจุลฬา ทินจันทร์ เป็นประธานกลุ่ม พ.ศ 2538 ได้มีนางจันทร์ศรี ปะกิระคะ ดำรงตำแหน่งประธานกลุ่มได้มีการขยายกลุ่มเรื่อยมาจนมีสมาชิกมากขึ้นเป็น 26 คน

  8. ต่อมาก็ได้รับการสนับสนุนจากเกษตรจังหวัดให้ยืมเงินจำนวน 20,000 บาท โดยคืนภายใน 2 ปี เพื่อเป็นทุนในการผลิตผ้าถุงไหมแปรรูปผลิตภัณฑ์ พ.ศ 2540 ได้ติดต่อยืมเงินจากโครงการมิยาซาวา โดยเกษตรอำเภอทำโครงการให้ต่อมาอีก 1 ปี ได้รับเงินสนับสนุน 50,000 บาท เป็นเงินได้เปล่า ทางกลุ่มจึงได้นำมาลงทุนแปรรูปผลิตภัณฑ์ทอผ้า และซื้ออุปกรณ์ในการทอผ้าถุงใหม่

  9. พ.ศ 2544 ได้รับเงินสนับสนุนจาก อบต. จำนวน 30,000 บาท ได้มีการจัดตั้งศูนย์สาธิตและจำหน่ายผ้าไหมพื้นเมืองขึ้น พ.ศ 2545 ได้มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 46 คน และได้รับเงินสนับสนุนจากพัฒนาชุมชน 50,000 บาท ในการบำรุงรักษาและพัฒนาการทอผ้าไหม พ.ศ 2546 ได้รับการอนุมัติเงินจำนวน 50,000 บาทในการจัดทำผ้าไหม ในรูปผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ

  10. ผ้าไหมพื้นเรียบ

  11. ผ้าไหมลายมัดหมี่ 5 คม 7 คม 9 คม (ลายไทย)

  12. ผ้าโสร่ง ผ้าโสร่งไหม

  13. เสื้อผ้าไหมสำเร็จรูป

  14. ผ้าไหมมัดหมี่ลายสร้อยดอกหมากผ้าไหมมัดหมี่ลายสร้อยดอกหมาก

  15. ผ้าไหมมัดหมี่ลายประยุกต์ผ้าไหมมัดหมี่ลายประยุกต์

  16. ผ้าไหมมัดหมี่

  17. เครื่องมือในการทอผ้าไหมเครื่องมือในการทอผ้าไหม เครื่องมือที่สำคัญใช้ในการทอผ้า เรียกว่า กี่ทอผ้าหรือหูก เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการทอผ้าที่พบโดยทั่วไป มี 2 ชนิด คือกี่ตั้งและกี่กระตุก ซึ่งประกอบด้วย

  18. 1. กี่ทอผ้าไหม

  19. 2. กระสวย

  20. 3. ไม้เหยียบหูก

  21. 4. หลอดด้าย

  22. 5. ไม้หาบหูก

  23. จัดทำโดย น.ส อนงค์ ภูพันหงษ์ รหัส 444303137 โปรมแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ 4.3

More Related