1 / 60

บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่าย

บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่าย. A. Treetip Boonyam Bangkok University. ช่องทางการตลาดมีความสำคัญ เนื่องจาก. การพัฒนาช่องทางฯ ต้องใช้เงินและเวลามาก ช่องทางฯ จะต้องใช้ความสัมพันธ์ที่ดี และเสมือนข้อผูกมัด เปิดโอกาสให้สินค้าออกสู่สายตาลูกค้า เปิดโอกาสให้ลูกค้าเข้าถึงตัวสินค้า.

renate
Download Presentation

บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่าย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่าย A. Treetip Boonyam Bangkok University

  2. ช่องทางการตลาดมีความสำคัญ เนื่องจาก • การพัฒนาช่องทางฯ ต้องใช้เงินและเวลามาก • ช่องทางฯ จะต้องใช้ความสัมพันธ์ที่ดี และเสมือนข้อผูกมัด • เปิดโอกาสให้สินค้าออกสู่สายตาลูกค้า • เปิดโอกาสให้ลูกค้าเข้าถึงตัวสินค้า

  3. ช่องทางการจัดจำหน่าย คือ • กลุ่มองค์การอิสระที่ช่วยอำนวยการขนย้าย แลกเปลี่ยนสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคหรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม • มีคนกลาง (Middlemen or Marketing Intermediary) เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ผลิตและลูกค้า

  4. ผู้มีส่วนร่วมในช่องทางการจัดจำหน่ายผู้มีส่วนร่วมในช่องทางการจัดจำหน่าย • ผู้มีส่วนร่วมที่เป็นสมาชิก • พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middleman) • ตัวแทนคนกลาง (Agent Middleman) • ผู้มีส่วนร่วมที่ไม่เป็นสมาชิก

  5. ประโยชน์ของคนกลาง • ความชำนาญเฉพาะด้านและหลักการแบ่งงานกันทำ • ประสิทธิภาพในการติดต่อ • ขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำ

  6. ขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำ • ความเหลื่อมล้ำในปริมาณสินค้า • ความเหลื่อมล้ำในสถานที่ • ความเหลื่อมล้ำเรื่องเวลา • ความเหลื่อมล้ำของกลุ่มสินค้า

  7. หน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่ายหน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่าย • หน้าที่ด้านวิจัย • หน้าที่ด้านการส่งเสริมการตลาด • หน้าที่ทางด้านการติดต่อ • หน้าที่คัดเลือกและจัดสรรสินค้า

  8. หน้าที่คัดเลือกและจัดสรรสินค้าหน้าที่คัดเลือกและจัดสรรสินค้า • การคัดเลือกและแยกประเภทสินค้า(Sorting Out) • การรวบรวม(Accumulation) • หน้าที่จัดสรร(Allocation): Breaking Bulk • การสร้างส่วนประสมของสินค้า(Assorting)

  9. หน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่ายหน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่าย • หน้าที่ด้านการต่อรอง • การขนส่งและการเก็บรักษา • หน้าที่ด้านการเงิน • หน้าที่รับภาระความเสี่ยง

  10. โครงสร้างของช่องทางการจัดจำหน่ายโครงสร้างของช่องทางการจัดจำหน่าย • คือกลุ่มของสมาชิกช่องทางการจัดจำหน่าย ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของช่องทางการจัดจำหน่ายตามที่ได้ตกลงแบ่งกันไว้ • สินค้าต่างชนิดกัน โครงสร้างช่องทางฯ ก็จะต่างกัน

  11. ช่องทางการจัดจำหน่าย • สินค้าบริโภค • เส้นทางที่สินค้าบริโภคเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย • สินค้าอุตสาหกรรม • เส้นทางที่สินค้าบริโภคเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม

  12. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ A • จำหน่ายทางตรง • สินค้าขายยาก หรือต้องบริโภคทันที ผู้ผลิต ผู้บริโภค

  13. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ B • มักเป็นร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ • เหมาะกับสินค้าเปรียบเทียบซื้อและเจาะจงซื้อ • เหมาะกับสินค้าล้าสมัยง่ายและลูกค้าอยู่กระจัดกระจาย ผู้ผลิต ผู้บริโภค พ่อค้าปลีก

  14. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ C • เป็นรูปแบบมาตรฐาน เหมาะกับสินค้าสะดวกซื้อ • ลูกค้าเป้าหมายมีมาก พ่อค้า ปลีก พ่อค้า ส่ง ผู้ผลิต ผู้บริโภค

  15. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ D • เหมาะกับผู้ผลิตขนาดเล็ก ไม่พร้อมทำหน้าที่เอง • สินค้าสะดวกซื้อ ไม่เน่าเสียง่าย • ลูกค้ากระจาย พ่อค้า ส่ง พ่อค้า ปลีก ผู้บริโภค ตัวแทน ผู้ผลิต

  16. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ E • ขายตรงจากผู้ผลิตถึงลูกค้า • สินค้าราคาแพง หรือต้องการการบริการมาก • ลูกค้าขนาดใหญ่ มีจำนวนน้อย อยู่รวมกัน ผู้ใช้ ผู้ผลิต

  17. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ F • สินค้าขนาดเล็ก มูลค่าต่ำ • ลูกค้ากระจายและมีจำนวนมาก เช่น อุปกรณ์ ชิ้นส่วนต่างๆ ผู้จำหน่าย ผู้ใช้ ผู้ผลิต

  18. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ G • ผู้ผลิตไม่ชำนาญด้านการจำหน่าย หรือไม่คุ้นสถานที่ • สินค้าใหม่ หรือขายในพื้นที่ใหม่ ผู้ใช้ ตัวแทน ผู้ผลิต

  19. ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ H • ไม่สะดวกจะจำหน่ายสินค้าเอง • ลูกค้าเป้าหมายกระจาย ตัวแทน ผู้จำหน่าย ผู้ใช้ ผู้ผลิต

  20. การออกแบบช่องทางการจัดจำหน่ายการออกแบบช่องทางการจัดจำหน่าย • ระบุความจำเป็นที่จะต้องมีการออกแบบช่องทางฯ • ตั้งวัตถุประสงค์ของช่องทางฯ • กำหนดงานและหน้าที่ในช่องทางฯ • การพัฒนาโครงสร้างช่องทางฯที่อาจเป็นไปได้ • การประเมินและการเลือกช่องทางฯ • การเลือกโครงสร้างช่องทางฯ ที่ดีที่สุด • การคัดเลือกสมาชิกช่องทางฯ

  21. 1. ระบุความจำเป็นที่ต้องออกแบบช่องทางฯ • ผลิตภัณฑ์ใหม่หรือสายผลิตภัณฑ์ใหม่ • ผลิตภัณฑ์เดิมสำหรับกลุ่มเป้าหมายใหม่ • มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนประสมการตลาดตัวอื่น • ตั้งกิจการใหม่หรือรวมกิจการ

  22. 1. ระบุความจำเป็นที่ต้องออกแบบช่องทางฯ • คนกลางในช่องทางจำหน่ายเดิมเปลี่ยนแปลงนโยบาย • การเกิดขึ้นของปัญหาด้านความขัดแย้ง • ขยายพื้นที่การขาย • การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ • ตรวจสอบและประเมินช่องทางฯเดิม

  23. 2. ตั้งวัตถุประสงค์ของช่องทางฯ • ระบุชัดเจนว่าช่องทางนั้นช่วยให้ธุรกิจสำเร็จได้อย่างไร • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของส่วนประสมทางการตลาดตัวอื่น รวมทั้งวัตถุประสงค์บริษัทด้วย

  24. 3. กำหนดงานและหน้าที่ของช่องทางฯ • ระบุหน้าที่ที่ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ • หน้าที่หลักตามที่ระบุ เช่น เก็บข้อมูล การตลาด การเงิน

  25. 4. การพัฒนาโครงสร้างช่องทางฯ • ต้องพิจารณา 3 ปัจจัย ดังนี้ • จำนวนระดับ: ขายตรงหรือขายผ่านคนกลางกี่ราย • ความหนาแน่นในแต่ละระดับของช่องทางฯ: จำนวนคนกลางที่มีอยู่ในแต่ละระดับ • ชนิดของคนกลาง

  26. ความหนาแน่นในแต่ละระดับของช่องทางฯความหนาแน่นในแต่ละระดับของช่องทางฯ • การจำหน่ายอย่างทั่วถึง • การจำหน่ายอย่างเลือกสรร • การจำหน่ายแบบผูกขาด

  27. การคำนวณหาช่องทางการจำหน่ายที่เป็นไปได้การคำนวณหาช่องทางการจำหน่ายที่เป็นไปได้ • เป็นผลคูณของ • จำนวนระดับ • รูปแบบการกระจาย • จำนวนคนกลาง(ประเภท)

  28. 5. การประเมินและเลือกช่องทางฯ • ปัจจัยด้านตลาด • ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ • ปัจจัยด้านบริษัท • ปัจจัยทางด้านคนกลาง

  29. ปัจจัยทางด้านการตลาด • ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตลาด(Market Geographic) • ขนาดของตลาด(Market Size) • ความหนาแน่นของตลาด(Market Density) • พฤติกรรมของตลาด(Market Behavior)

  30. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ • ความเน่าเสียง่ายของสินค้า • มูลค่าต่อหน่วยสินค้า • ระดับความเป็นมาตรฐานของสินค้า • ลักษณะทางเทคนิคของผลิตภัณฑ์

  31. ปัจจัยทางด้านบริษัท • ฐานะการเงินของบริษัท • ความชำนาญด้านการบริหาร • ความต้องการที่จะควบคุมช่องทางฯ

  32. ปัจจัยทางด้านคนกลาง • ความสามารถในการหาคนกลางที่ต้องการ • ต้นทุน • การให้บริการ

  33. 6. การเลือกโครงสร้างช่องทางฯ • ต้นทุนต่ำสุดโดยประสิทธิภาพสูงสุด • ใช้วิธี Weighted Factor Score • ข้อจำกัด • ข้อมูลและเวลาในการพิจารณามีจำกัด • ยากคำนวณผลประโยชน์ที่จะได้รับ และต้นทุนแต่ละช่องทาง

  34. 7. การคัดเลือกสมาชิกช่องทางฯ • การค้นหาสมาชิกช่องทางฯที่คาดหวัง • ตั้งเกณฑ์ในการคัดเลือก • การชักจูงเพื่อเป็นสมาชิกฯ

  35. การค้าส่ง (Wholesaling) • คือกิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการขายสินค้าให้กับองค์กรที่ซื้อไปเพื่อขาย เพื่อผลิตต่อ หรือใช้ในการดำเนินธุรกิจ • ผู้ค้าส่ง คือ คนกลางทุกประเภทที่ทำกิจกรรมค้าส่ง

  36. ประเภทของการค้าส่ง ผู้ค้าส่ง ผู้ผลิตค้าเอง ผู้ผลิตไม่ค้าเอง ผู้ค้าส่งที่เป็นพ่อค้า คนกลางไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินค้า สาขาผู้ผลิต นายหน้า สนง.ขายผู้ผลิต พ่อค้าส่งครบวงจร ตัวแทนผู้ผลิต พ่อค้าส่งจำกัด บริการ พ่อค้านายหน้า ตัวแทนขาย

  37. 1. ธุรกิจค้าส่งที่ผู้ผลิตทำเอง • ต้องการควบคุมช่องทางอย่างใกล้ชิด • มี 2ประเภท • สาขาการขายของผู้ผลิต: มีสินค้าไว้ในมือ พร้อมขายทันที • สำนักงานขายของผู้ผลิต: ไม่มีสต๊อก รับแต่คำสั่งซื้อ

  38. 2. ธุรกิจค้าส่งที่ผู้ผลิตไม่ได้ทำเอง • คนกลางที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินค้า • ผู้ค้าส่งที่เป็นพ่อค้า: ซื้อสินค้าไปขายต่อ มีกรรมสิทธิ์ในสินค้า

  39. 2.1 คนกลางที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินค้า • นายหน้า: เป็นตลาดที่ผู้ขายกับผู้ซื้อลำบากในการค้นหากัน • ตัวแทนผู้ผลิต: ไม่ขายสินค้าที่เป็นคู่แข่งกัน ทำหน้าที่เหมือนพนักงานขายของผู้ผลิต

  40. 2.1 คนกลางที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินค้า • พ่อค้านายหน้า: มีอำนาจกำหนดราคาการส่งมอบและเงื่อนไขการขาย มักอยู่ในตลาดเกษตรกรรม • ตัวแทนขาย: ทำงานการตลาดให้ผู้ผลิตทุกชนิด ได้ค่านายหน้าตอบแทน

  41. 2.2 ผู้ค้าส่งที่เป็นพ่อค้า • ผู้ค้าส่งที่ให้บริการครบวงจร • ทำหน้าที่ครบถ้วน • บริการถึงอกถึงใจ • ผู้ค้าส่งที่จำกัดการให้บริการ

  42. 2.2.1 ผู้ค้าส่งที่ให้บริการครบวงจร • ผู้ค้าส่งสินค้าทั่วไป: ขายสินค้าหลายชนิดหลายยี่ห้อ • ผู้ค้าส่งเฉพาะหนึ่งสายผลิตภัณฑ์: ขายเพียง 1 สายแต่หลายชนิด เช่น ร้านขายหนังสือ/เครื่องเขียน • ผู้ค้าส่งขายสินค้าเฉพาะอย่าง: ขายผลิตภัณฑ์เดียวแต่มีให้เลือกหลายชนิด เช่น ร้านขายเครื่องยนต์

  43. 2.2.1 ผู้ค้าส่งที่ให้บริการครบวงจร • ผู้จัดจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม: ขายสินค้าอุตสาหกรรมให้ผู้ผลิตเป็นหลัก • Mill Supply House • The Supermarket of Industry

  44. 2.2.2 ผู้ค้าส่งที่จำกัดการให้บริการ • พ่อค้าส่งแบบ Cash&Carry: ขายสดงดเชื่อ ไม่ขนส่งให้ • พ่อค้าส่งแบบ Drop Shipper: • มีกรรมสิทธิ์ในสินค้าแต่ไม่เก็บไว้ขาย • รับคำสั่งซื้อแล้วส่งให้ผู้ผลิตส่งสินค้าให้ เหมาะกับสินค้าใหญ่(Bulk Product) ค่าใช้จ่ายขนส่งสูง

  45. 2.2.2 ผู้ค้าส่งที่จำกัดการให้บริการ • ผู้ค้าส่งโดยรถบรรทุก: ทั้งขายทั้งขน มีจำนวนผลิตภัณฑ์จำกัด • Rack Jobber: วางขายสินค้าตามร้านค้าปลีก ได้เงินเมื่อร้านค้าปลีกขายสินค้าได้ • กำหนดราคาเอง • จัดชั้นวางของและตรวจนับเอง

  46. 2.2.2 ผู้ค้าส่งที่จำกัดการให้บริการ • ผู้ค้าส่งทางไปรษณีย์: ส่งแคตตาล็อคไปยังผู้ค้าปลีกและลูกค้าอุตสาหกรรม และรับคำสั่งซื้อทางไปรษณีย์ • สหกรณ์ผู้ผลิต: จำหน่ายสินค้าไปยังตลาดท้องถิ่น มีเงินปันผลปลายปี

  47. การค้าปลีก (Retailing) • คือกิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวกับการขายสินค้าให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อใช้ส่วนตัวมากกว่าทำธุรกิจ • ผู้ค้าปลีก คือ องค์กรทำหน้าที่ขายสินค้าให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย

  48. ประเภทของการค้าปลีก • ห้างสรรพสินค้า • ร้านค้าปลีกที่เน้นปริมาณขาย • ร้านค้าปลีกที่ขายสินค้าเฉพาะผลิตภัณฑ์ • สิทธิทางการค้า • การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า

  49. ห้างสรรพสินค้า • ร้านค้าปลีกมีพนักงานมากกว่า 25 คนขึ้นไป • จำหน่ายหลายสายผลิตภัณฑ์ • จัดสินค้าเหมือนกันไว้ที่เดียวกันเรียกว่า “แผนก” • อาจมีร้านค้าปลีกให้บริการอื่นๆร่วมด้วย

  50. ร้านค้าปลีกที่เน้นปริมาณขาย ร้านค้าปลีกที่เน้นปริมาณขาย • Discount Store: ขายถูก จำกัดบริการ เช่น โลตัส • Supermarket: ราคาต่ำกว่าทั่วไป ให้บริการตัวเอง มีผลิตภัณฑ์อาหารครบถ้วน • Superstore: ขายอาหารและสินค้าจำเป็น

More Related