1 / 14

Principle of improvement biotechnology เทคโนโลยีชีวภาพทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เบื้องต้น

Principle of improvement biotechnology เทคโนโลยีชีวภาพทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เบื้องต้น. โดย ผศ . ดร . วุฒิ ไกร บุญคุ้ม ภาควิชา สัตว ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Kinds of biotechnology. Reproductive technologies Artificial Insemination (AI) MOET IVM and IVF

raven
Download Presentation

Principle of improvement biotechnology เทคโนโลยีชีวภาพทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Principle of improvement biotechnologyเทคโนโลยีชีวภาพทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. Kinds of biotechnology Reproductive technologies • Artificial Insemination (AI) • MOET • IVM and IVF • Nuclear transplantation (cloning) • Cryopreservation • Sex determination Gene technologies • Genetic engineering • Genetic marker (MAS, QTL) • Genetic maps • DNA finger print • Genomic selection

  3. Genetic engineering • พันธุวิศวกรรม คือ การปรับเปลี่ยน, ดัดแปลง, เคลื่อนย้าย, ตรวจสอบ สารพันธุกรรม (DNA) • ชื่อเรียกอื่น Transgenic animal, Transgenic organisms และที่รู้จักมากที่สุดคือ “Genetically Modified Organisms” หรือ GMOs • ข้อดี: สัตว์ให้ผลผลิตสูงขึ้น อายุการใช้งานมากขึ้น มีความต้านทานโรคมากขึ้น แก้ไขปัญหาโรคทางพันธุกรรม • ข้อพึงระวัง: ยีนของสัตว์ทุกตัวเหมือนกันโอกาสสูญพันธุ์สูง ยังไม่มีรายงานการพิสูจน์ผลข้างเคียงจากการตัดต่อยีน เสี่ยงต่อการยอมรับของผู้บริโภค

  4. Genetic engineering

  5. Genetic engineering เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของยีนที่มีอยู่ในมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตอื่น สิ่งมีชีวิต % ของยีนที่คล้ายกับยีนในมนุษย์ • มนุษย์คนอื่น 99.9 % • ลิงชิมแปนซี 98 - 99 % • หนู 90 % • ปลาม้าลาย 85 % • แมลงหวี่ 36 % • ยีสต์ทำขนมปัง 23 % • แบคทีเรียในลำไส้ 7 %

  6. GENE MARKER คือ เครื่องหมายพันธุกรรมที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของยีนที่สนใจ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ MAS และ QTL MAS พิจารณารูปแบบ genotype ที่สัมพันธ์กับลักษณะที่สนใจคัดเลือก เช่น genotype AA แสดงถึงการให้ผลผลิตไข่สูงในไก่ QTL พิจารณารูปแบบของยีนที่อยู่บนโครโมโซม หากยีนใดมีอิทธิพลต่อลักษณะที่สนใจคัดเลือกจะใช้ยีนนั้นเป็น QTL ยีนสำหรับการคัดเลือก

  7. Gene marker • การค้นหายีนที่มีความสัมพันธ์กันกับลักษณะต่างๆ เช่น ไข้เห็บ • ยีนที่เกี่ยวข้องกับการให้ผลผลิตน้ำนม (DGAT) • ยีนต้านทานโรคต่างๆ เช่น โรคเต้านมอักเสบ (BOLA) • ยีนที่เกี่ยวข้องกับทนความเครียดเนื่องจากความร้อน (HSP70) • ยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจนเนื่องจากมี connecting genes อยู่มาก

  8. QTL linked marker QTL marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก = gene marker

  9. GENE MAPPING • คือ การระบุตำแหน่งยีนที่ควบคุม ลักษณะต่างๆบนโครโมโซม

  10. DNA fingerprint • เป็นเทคโนโลยีในการตรวจสอบถึงประวัติบรรพบุรุษของสัตว์ ทำให้ทราบถึงต้นกำเนิดของสัตว์ • ตรวจสอบความเป็น พ่อ-แม่ของสัตว์, คน (Tsunami event) • ตรวจสอบหาคนร้าย (crime)

  11. DNA fingerprint

  12. DNA fingerprint X

  13. Genomic selection Genome คือพันธุกรรม Selection คือ การคัดเลือก รวมกันเป็น การคัดเลือกสัตว์จากพันธุกรรมโดยตรง โดยจะใช้วิธีการใดๆร่วมกัน วิธีการคัดเลือกในปัจจุบันแบ่งเป็น • การประเมินพันธุกรรม • การใช้เทคโนโลยีโมเลกุล X

More Related