1 / 28

โปรแกรมที่สนใจ

โปรแกรมที่สนใจ. โปรแกรม. Grahies. ประเภท Freeware. โปรแกรม Grahics.

randolph
Download Presentation

โปรแกรมที่สนใจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โปรแกรมที่สนใจ โปรแกรม Grahies ประเภท Freeware

  2. โปรแกรม Grahics การเกิดภาพกราฟิกในคอมพิวเตอร์การเกิดภาพต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์ จะเกิดจากการเรียงตัวของจุดสี่เหลี่ยม สีต่างๆ ที่เราเรียกว่า "พิกเซล" (Pixel) ซึ่ง"พิกเซล" เป็น  ตัวกำหนดความคมชัดของภาพในจอคอมพิวเตอร์ ยิ่งเรากำหนดให้ภาพแต่ละภาพมีจำนวน "พิกเซล" มากภาพก็จะมีความละเอียดมากขึ้นตามไปด้วย แต่จะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ขึ้นด้วยตามความละเอียดของภาพ

  3.  ชนิดของภาพกราฟิก (Graphics Format) ภาพกราฟิกที่ใช้อยู่ในปัจจุบันจะถูกแบ่งตามวิธีการสร้างภาพเป็น 2ชนิด คือ   1.Vector Graphics (กราฟิกแบบเวกเตอร์)การสร้างภาพแบบเวกเตอร์ เป็นการสร้างภาพดิจิตอลด้วยคำสั่งในการวางเส้นสายและรูปทรงต่างๆ ทีละรูปเป็นลำดับ ลงไปในขอบเขต 2 หรือ 3 มิติที่กำหนด ในวิชาฟิสิกส์ เวกเตอร์จะแทนทั้งขนาดและทิศทางในเวลาเดียวกัน ในการสร้างภาพแบบเวกเตอร์ แฟ้มภาพจะถูกสร้างและเก็บบันทึกเป็นลำดับคำสั่งเวกเตอร์ ที่อธิบายลำดับของจุดที่เชื่อมโยงกันในภาพ จึงเก็บเป็นแฟ้มที่มีขนาดเล็ก บางครั้งภาพแบบ เวกเตอร์จะถูกแปลงเป็นภาพแบบราสเตอร์ซึ่งจะแปลงจุดภาพแต่ละจุดลงบนพื้นที่แสดงผลโดยตรงที่เรียกว่า บิตแมป (bitmap)  

  4. ภาพแบบเวกเตอร์อาจถูกแปลงเป็นแฟ้มภาพแบบราสเตอร์ก่อนที่จะแสดงผลเพื่อให้สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างระบบได้ แฟ้มแบบเวกเตอร์บางครั้งเรียกว่าแฟ้มเชิงเรขาคณิต ภาพส่วนมากที่สร้างด้วยเครื่องมืออย่างเช่น Adobe Illustrator และ CorelDraw มักจะอยู่ในรูปของแฟ้มภาพแบบเวกเตอร์ เพราะสามารถแก้ไขได้ง่ายกว่าแฟ้มภาพแบบราสเตอร์ ภาพแบบราสเตอร์เองบางครั้งก็ต้อง แปลงกลับไปเป็น ภาพแบบเวกเตอร์เพื่อทำการแก้ไขให้ดีขึ้น ภาพเคลื่อนไหว (Animation images) ก็มักจะสร้างเป็นแฟ้มภาพแบบเวกเตอร์ โปรแกรม  Shockwave จะใช้สำหรับสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ 2 และ 3 มิติ ที่ส่งออกไปในรูปแฟ้มแบบเวกเตอร์ แล้วจึงแปลงไปเป็น ภาพแบบราสเตอร์ตอนแสดงผลข้อดีของการฟิกแบบเวกเตอร์ คือ รูปภาพที่ถูกสร้างขึ้นจะไม่ลดความคมชัดแม้ว่าจะขยายภาพก็ตาม

  5.  2.Raster Graphics (ภาพแบบราสเตอร์)ภาพแบบราสเตอร์เป็นภาพดิจิตอลที่สร้างขึ้นหรือกวาดมาจากเครื่องสแกนเนอร์ ประกอบด้วยจุดภาพที่เรียงกันเป็นตาราง (raster) ตามแนวแกน x และ y ในบริเวณที่แสดงภาพ แฟ้มที่เก็บภาพเช่นนี้จะระบุว่าจุดไหนมีสีอะไร อาจเรียกว่าภาพแบบบิตแมป (bitmap) เพราะเป็นการแสดงจุดภาพแต่ละจุดลงบนตารางแสดงภาพ แฟ้มที่เก็บภาพแบบราสเตอร์มักจะมีขนาดใหญ่กว่าแฟ้มภาพแบบเวกเตอร์และยากที่จะแก้ไขโดยไม่สูญเสียข้อมูลภาพบางส่วนไป แม้ว่าจะมีโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับแปลงภาพแบบราสเตอร์ ไปเป็นภาพแบบเวกเตอร์เพื่อทำการแก่ไขก็ตาม ตัวอย่างของแฟ้มภาพชนิดนี้คือ BMP, TIFF, GIF และ JPEGข้อเสียแบบนี้ คือ ภาพจะไม่ชัดถ้าขยายเกินความละเอียดที่สร้างไว้

  6. รูปแบบของไฟล์สำหรับภาพกราฟิกรูปแบบของไฟล์สำหรับภาพกราฟิก  1.format JPEG        - ถูกพัฒนาขึ้นโดย Joint Photographic Experts Group เพื่อจุดประสงค์ในการบีบอัดข้อมูล ของไฟล์รูปภาพให้มีขนาดเล็กลง ขณะเดียวกันคุณภาพของภาพก็ลดลงด้วย        - ผู้ใช้สามารถกำหนดคุณภาพของภาพได้ ถ้าต้องการคุณภาพสูงแฟ้มจะมีขนาดใหญ่ ผู้ใช้ต้องตัดสินใจเลือกระหว่าง คุณภาพ (image quality) กับขนาดของแฟ้มภาพ (file size) ที่ต้องการ        - JPEG เป็นชนิดของแฟ้มภาพที่สื่อสารบน World Wide Web มักจะเป็นแฟ้มที่มีส่วนขยายหรือนามสกุลเป็น .jpg เราสามารถสร้าง progressive JPEG ได้คล้ายคลึงกับ interlaced GIF

  7.  2.format TIFF        - TIFF (Tag Image File Format) เป็นรูปแบบทั่วไปของแฟ้มที่ใช้ใน การแลกเปลี่ยนภาพแบบราสเตอร์ หรือบิทแมป ระหว่างโปรแกรมประยุกต์รวมทั้งโปรแกรมที่ใช้จัดการภาพทีได้จากการกวาดด้วยสแกนเนอร์        - พัฒนามาตั้งแต่ปี 1986 มักใช้ในงาน desktop publishing, faxing, 3-D applications และ medical imaging applications TIFF files มีหลายประเภทเช่น gray scale, color palette และ RGB full color  3.format GIF         - GIF (Graphics Interchange Format) เป็นแฟ้มภาพที่เป็นที่นิยมมากที่สุดสำหรับเก็บภาพที่จะแสดง บนเว็บและที่อื่นๆบนอินเทอร์เนต นอกเหนือจากรูปแบบแฟ้ม JPEG แฟ้ม GIF กลายเป็นรูปแบบมาตรฐานของแฟ้มภาพ ใช้วิธีการบีบอัดข้อมูล แบบ LZW

  8. animated GIF           - แฟ้ม animated GIF (Graphics Interchange Format) เป็นแฟ้มภาพที่เคลื่อนไหวได้บนเว็บเพจ           - แฟ้ม animated GIF เป็นแฟ้มที่มีรูปแบบตามข้อกำหนด GIF89a ในแฟ้มหนึ่งๆประกอบด้วยภาพหลายภาพที่ถูกนำเสนอตามลำดับที่ได้มีการกำหนดไว้ แล้วและให้หยุดหรือให้วนไปไม่สิ้นสุดก็ได้           - เครื่องมืออื่นที่สามารถใช้ในการทำภาพเคลื่อนไหวได้แก่ Java และ Flash แต่ animated GIF จะสร้างได้ง่ายกว่า และมักจะมีขนาดเล็กกว่า ทำให้แสดงภาพได้เร็วกว่า

  9. 4.sPortable Network Graphics (PNG)           - แฟ้ม PNG มีการบีบอัดข้อมูลโดยไม่สูญเสียคุณภาพเช่นเดียวกับแฟ้ม GIF แต่บีบอัดข้อมูลได้ดีกว่าPNG           - ทำให้สีมีความโปร่งใส (transparency) แล้ว ยังสามารถควบคุมองศาของความโปร่งใส (opacity) ได้ด้วย           - มีการปรับภาพด้วย Gamma correction allows you to "tune" the image in terms of color brightness required by specific display manufacturers.            - เก็บบันทึกภาพด้วยสีจริง (true color) ได้เช่นเดียวกับตารางสี (palette) และ สีเทา (gray-scale) แบบ GIF            - PNG format ไม่สนับสนุนภาพเคลื่อนไหว เพราะไม่สามารถเก็บภาพหลายภาพไว้ด้วยกันได้แต่สามารถขยายขีดความสามารถ (extensible) ได้

  10.    Image Compression (การบีบอัดข้อมูลภาพ)  - การบีบอัดข้อมูลภาพเป็นวิธีการลดขนาดของไบต์ที่เก็บข้อมูล ภาพโดยไม่สูญเสียคุณภาพของภาพมากเกินไป          - มีวิธีที่นิยมใช้กันอยู่ 2 วิธีคือบีบอัดในรูปแบบ JPEG และวิธี GIF           - วิธีอื่นที่ใช้ก็คือ การใช้ fractal และ wavelet ซึ่งไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับแพร่หลายนักบนอินเตอร์เน็ตแต่ก็น่าสนใจเพราะสามารถบีบอัดข้อมูลได้มากกว่าวิธี JPEG หรือ GIF          - สำหรับภาพบางชนิด อีกวิธีหนึ่งคือ Portable Network Graphics format.           - การบีบอัดแฟ้มคำสั่งหรือแฟ้มข้อความจะต้องไม่มีข้อผิดพลาด เรียกว่า การบีบอัดแบบไม่มีการสูญเสียข้อมูล (lossless compression)

  11. การประยุกต์ใช้ภาพที่สร้างจากคอมพิวเตอร์การประยุกต์ใช้ภาพที่สร้างจากคอมพิวเตอร์ 1.ใช้แสดงข้อมูลให้เห็นภาพ-แผนที่-การวาดกราฟมีการโต้ตอบ แก้ไขข้อมูล-นำข้อมูลมาสร้างภาพ 2.ออกแบบผลิตภัณฑ์,อุปกรณ์ 3.การจำลองสถานการณ์ 4.ใช้ภาพเป็นสื่อในการสื่อสาร

  12. ส่วนประกอบของ Computer Graphic  1.อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า (Input devices)       1.อุปกรณ์ชี้ - Mouse - Light pen  - Data tablet       2.การนำข้อมูลเข้ามาประมวลผลโดยตรง -  digital camera                    -  optical scanner       3..หน่วยประมวลผล (Processor)       4.อุปกรณ์ในการเก็บคำสั่ง,ข้อมูล (Memory)       5.หน่วยความจำที่จัดสรรในการแสดงภาพ (Frame Buffer)       6.อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (output devices)

  13.  2.อุปกรณ์ที่จะแสดงภาพ (Display device)                         -CRT ใช้หลักการหลอดรังสีแคโทด                         -LCD ใช้ผลึกเหลวในการสร้างภาพ                         -Electroluminescent สร้างภาพโดยอาศัยสนามไฟฟ้า         3.อุปกรณ์ที่แสดงภาพถาวร (Hardcopy device)                          -Pen plotter                         -Printer (Laser, Ink, Jet, Dot matrix)                         -Microfilm printer                         -Film recorder

  14. อุปกรณ์ทางด้านกราฟิก (Graphics Hardware)         1.เทคโนโลยีในการแสดงผล                        - เปลี่ยนภาพอย่างรวดเร็ว-เป็นภาพชั่วคราว                        - ปรับเปลี่ยนส่วนต่างๆได้อย่างรวดเร็ว         2.เทคโนโลยีการสร้างภาพถาวร         Refresh Rate                        - จำนวนภาพที่ต้องสร้างใหม่ใน 1 วินาที                        - ไม่ขึ้นกับความซับซ้อนของภาพ                        - ความถี่ที่จะทำให้เห็นภาพ

  15. โปรแกรมกราฟิก (Graphics Program)          1.Painting & Drawing                        -Paint, MS Photo Editor, Adobe Photoshop,Adobe Illustrator, CorelDraw         2.Computer-Aided Design (CAD)                        -Visio                        -Interactive Physics         3.Plotting                        -MS Excel, EasyPlot, SigmaPlot                        -Presentation                        -MS PowerPoint, Freelance

  16. การใช้โปรแกรมในการตกแต่งภาพการใช้โปรแกรมในการตกแต่งภาพ ส่วนประกอบทั่วไปของโปรแกรมต่างๆ-Windows Applications-Control menu-Title bar-Sizing buttons-Menu bar-Status bar-Toolbars-Tool box-Color box-Document window (Image window)

  17.  1.paint-สามารถสร้าง เปิด เซฟ และพิมพ์ ภาพได้-วาดเส้นตรงและรูปร่างได้-สามารถย้อนคำสั่งได้-สามราเลือกส่วนของภาพได้-สามารถลบ Copy เซฟได้ 2.Microsoft Photo Editor-สามารถสร้าง Cut, copy, paste all or part of image-สามารถแก้ไข resize, crop, mat, rotate, change attributes ได้-สามารถพิมพ์และส่ง อี-เมล์ ได้-สามารถใส่ special effects ได้

  18.  3.PhotoShopทรัพยากรของระบบที่ต้องการ          - CPU Pentium ขึ้นไป          - ram 64 ขึ้นไป          - Monitor ควรมีความละเอียดอย่างน้อย 800*600 Pixel          - การ์ดจอที่แสดงสีได้ตั้งแต่ 256 สีขึ้นไป          - ระบบปฏิบัติการ Windows 98,Windows 2000,Windows Me, Windows NT4.ที่ติดตั้ง Service Pack 4 1ขึ้นไป          - พื้นที่บน Hard Disk อย่างน้อย 1.2GB.

  19.   ความสามารถในการทำงานของโปรแกรม 1. ความสามารถในการตกแต่งภาพกราฟิก-เป็นการทำงานในแบบ Bitmap คือ การแก้ไขภาพจากจุดสีหรือพิกเซลต่างๆของภาพ                          -สามารถปรับสีและใส่เอฟเฟ็กต์เพื่อให้ภาพดูน่าสนใจ2.ความสามารถในการสร้างภาพ 2 มิติ3.สามารถเลือกโหมดสีได้ (Choose color mode)4.สามารถแก้ไขและ retouch ภาพได้5. save และ printได้

  20.   ส่วนประกอบต่างๆของจอภาพในการทำงาน 1.เมนู (Menu) เป็นพื้นที่ใช้เก็บคำสั่งต่างๆในการทำงาน 2.กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นกล่องที่รวบรวมเครื่องมือต่างๆ

  21. 3.พาเลท (Palette) เป็นหน้าต่างที่ใช้ควบคุมการทำงานและรายละเอียดในการแก้ไขต่างๆ 4.Status Bar ใช้แสดงข้อมูลการใช้งานหรือคำสั่งต่างๆ 5.Option Bar ใช้กำหนดรายละเอียดของเครื่องที่ใช่อยู่

  22.   3. Paint ทรัพยากรของระบบที่ต้องการ                                 1.CPU Pentium ขึ้นไป                                 2.ram 32 MB ขึ้นไป                                 3.Monitor ควรมีความละเอียดอย่างน้อย 800*600 Pixel                                 4.การ์ดจอที่แสดงสีได้ตั้งแต่ 16 สีขึ้นไป                                 5.ระบบปฏิบัติการ Windows 98,Windows 2000,Windows Me, Windows NT4.ที่ติดตั้ง Service  Pack 4 1ขึ้นไป                                 6.พื้นที่บน Hard Disk อย่างน้อย 1.2GB.

  23.    ความสามารถในการทำงานของโปรแกรม   ความสามารถในการทำงานของโปรแกรม                1. ความสามารถในการตกแต่งภาพกราฟิก                        -เป็นการทำงานในแบบ Bitmap คือ การแก้ไขภาพจากจุดสีหรือพิกเซลต่างๆของภาพ                       -สามารถปรับสีและใส่เอฟเฟ็กต์เพื่อให้ภาพดูน่าสนใจ                2.ความสามารถในการสร้างภาพ 2 มิติ                3.สามารถเลือกโหมดสีได้ (Choose color mode)                4.สามารถแก้ไขและ retouch ภาพได้               5. save และ printได้                   6. สามารถวาดและระบายสีได้

  24. ส่วนประกอบต่างๆของจอภาพในการทำงานส่วนประกอบต่างๆของจอภาพในการทำงาน 1.เมนู (Menu) เป็นพื้นที่ใช้เก็บคำสั่งต่างๆในการทำงาน 2. กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นกล่องที่รวบรวมเครื่องมือต่างๆ 3. Color box เป็นที่เก็บของสีต่างๆ

  25. 4. Status bar เป็นแถบที่แสดงถึงสถานะของโปรแกรม 5. Microsoft Photo Editor ทรัพยากรของระบบที่ต้องการ1. CPU Pentium ขึ้นไป2. ram 32 MB ขึ้นไป3. Monitor ควรมีความละเอียดอย่างน้อย 800*600 Pixel4. การ์ดจอที่แสดงสีได้ตั้งแต่ 16 สีขึ้นไป5. ระบบปฏิบัติการ Windows 98,Windows 2000,Windows Me, Windows NT4.ที่ติดตั้ง Service Pack 4 1ขึ้นไป6. พื้นที่บน Hard Disk อย่างน้อย 1.2GB.

  26.    ความสามารถในการทำงานของโปรแกรม   ความสามารถในการทำงานของโปรแกรม 1. ความสามารถในการตกแต่งภาพกราฟิก-เป็นการทำงานในแบบ Bitmap คือ การแก้ไขภาพจากจุดสี หรือพิกเซลต่างๆของภาพ0-สามารถปรับสีและใส่เอฟเฟ็กต์เพื่อให้ภาพดูน่าสนใจ2. ความสามารถในการสร้างภาพ 2 มิติ3. สามารถเลือกโหมดสีได้ (Choose color mode)4. สามารถแก้ไขและ retouch ภาพได้5. save และ printได้6. สามารถวาดและระบายสีได้

  27. ส่วนประกอบต่างๆของจอภาพในการทำงาน 1. เมนู (Menu) เป็นพื้นที่ใช้เก็บคำสั่งต่างๆในการทำงาน 2.แถบเครื่องมือ (Toolbar) เป็นกล่องที่รวบรวมเครื่องมือต่างๆ 3. Status bar เป็นแถบที่แสดงถึงสถานะของโปรแกรม

  28. โปรแกรม Grahies จบแล้วค่ะ

More Related