1 / 96

บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน RISK AND RATES OF RETURN

5 - 2. บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน RISK AND RATES OF RETURN. 5 - 3. บทที่ 5. ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน. 1. ผลตอบแทนจากการลงทุน. 2. ความเสี่ยงเฉพาะ. 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน. 5 - 4. 4. ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้และ ความเสี่ยงทางตลาด.

raleigh
Download Presentation

บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน RISK AND RATES OF RETURN

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 5 - 2 บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน RISK AND RATES OF RETURN

  2. 5 - 3 บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน 1. ผลตอบแทนจากการลงทุน 2. ความเสี่ยงเฉพาะ 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน

  3. 5 - 4 4. ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้และ ความเสี่ยงทางตลาด 5. สินทรัพย์ที่มีตัวตนกับหลักทรัพย์ 6. ข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับค่าเบต้าและ CAPM 7. ความผันผวนกับความเสี่ยง

  4. 5 - 5 สรุปแนวความคิดของบทนี้ 1. สินทรัพย์ทางการเงิน (financial assets) : ผู้ลงทุนคาดว่าจะได้รับผลตอบแทนในรูปของ กระแสเงินสด และมีความเสี่ยงในความ ไม่แน่นอนของกระแสเงินสดนั้น

  5. 5 - 6 2. ความเสี่ยงของสินทรัพย์ มี 2 ประเภท คือ (1)Stand - alone risk(ความเสี่ยงเฉพาะ) คือ ความเสี่ยงของกระแสเงินสดที่เกิด จากการลงทุนในสินทรัพย์เพียงตัวเดียว (2)Portfolio riskคือ ความเสี่ยงของ กระแสเงินสดที่เกิดจากการลงทุนใน สินทรัพย์หลายตัวนำมาวิเคราะห์รวมกัน

  6. 5 - 7 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุนแบ่งเป็น 2 ส่วน (1) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ (diversifiable risk) ความเสี่ยงนี้ถ้ากระจายการลงทุนจะหลีกเลี่ยงได้ (2) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (market risk , relevant risk)ความเสี่ยงนี้เนื่องมาจากดัชนี ตลาดหลักทรัพย์ลดลง แม้ว่าจะกระจายการ ลงทุนก็หลีกเลี่ยงไม่ได้จึงต้องสนใจมาก

  7. 5 - 8 4. สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงผลตอบ แทนที่คาดว่าจะได้รับจะสูงด้วย (เพื่อชดเชย กับความเสี่ยงที่สูงขึ้น) เช่น การลงทุนในตั๋วเงินคลัง 5 % (ไม่มีความเสี่ยง) แต่ถ้าลงทุนในหุ้นสามัญต้อง ได้รับผลตอบแทนสูงกว่า 5 % (เพราะมีความเสี่ยง) ผู้ลงทุนโดยทั่วไปจะหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (averse to risk)

  8. 5 - 9 1. ผลตอบแทนจากการลงทุน ผลตอบแทน (จำนวนเงิน) เงินที่ได้รับจาก การลงทุน = เงินลงทุน - = 1,100 - 1,000 = 100 บาท ตัวอย่าง ลงทุน 1,000 บาท เมื่อครบ 1 ปี ได้รับเงิน 1,100 บาทคำนวณอัตราผลตอบแทนดังนี้ :

  9. 5 - 10 เงินที่ได้รับจาก การลงทุน - เงินลงทุน อัตราผลตอบแทน จากการลงทุน = เงินลงทุน 100 = = 10 % 1,000

  10. Risk, in traditional terms, is viewed as a ‘negative’. Webster’s dictionary, for instance, defines risk as “exposing to danger or hazard”. The Chinese symbols for risk, reproduced below, give a much better description of risk • wang chi • The first symbol is the symbol for“danger”, • while the second is the symbol for“opportunity”, • makingriska mix of danger and opportunity. 5 - 11 ความเสี่ยงคืออะไร

  11. 5 - 12 ความเสี่ยงจากการลงทุน คือ ความเสี่ยงเกี่ยวกับความน่าจะเป็นที่จะได้รับ ผลตอบแทนต่ำหรือขาดทุน (low or negative return) ถ้าความน่าจะเป็นนี้สูงการลงทุนจะมีความเสี่ยงสูงด้วย

  12. 5 - 13 • ความเสี่ยงจากการลงทุนมี 2 ประเภท (Two types of investment risk) • ความเสี่ยงของหลักทรัพย์ตัวเดียว “ความเสี่ยงเฉพาะ” (Stand - alone risk ) • ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ (Portfolio risk)

  13. 5 - 14 RISK,RETURN,AND DIVERSIFICATION RISK ----> UNFAVORABLE OUTCOME HIGH RISK, HIGH RETURN DON’T PUT ALL EGGS IN ONE BASKET DIVERSIFYRISK (UNSYSTEMATIC RISK)

  14. 5 - 15 2. ความเสี่ยงเฉพาะ (Stand – Alone Risk) ความเสี่ยง คือ โอกาสของเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น ผลตอบแทนคือ รายได้จากการลงทุนในช่วงเวลาหนึ่ง ความเสี่ยงเฉพาะจะเกิดขึ้นจากการลงทุน ในหลักทรัพย์เพียงตัวเดียว

  15. 5 - 16 ความเสี่ยงและผลตอบแทนมีความสัมพันธ์กัน ถ้าอัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจาก การลงทุนไม่สูงพอชดเชยกับความเสี่ยง ที่ได้รับก็จะไม่มีการลงทุน

  16. 5 - 17 (1) การกระจายของความน่าจะเป็น (Probability Distribution) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น ๆ ถ้ากำหนดความน่าจะเป็นให้เหตุการณ์ ที่จะเกิดขึ้นแล้วนำมารวมกัน เรียกว่า การกระจายความน่าจะเป็น (probability distribution)

  17. 5 - 18 ตัวอย่าง อัตราผลตอบแทน จากการลงทุน ความต้องการ สินค้า ความน่าจะเป็น บริษัท M บริษัท U สูง 0.3 100 % 20 % ปานกลาง 0.4 15 15 ต่ำ 0.3 (70) 10

  18. ^ (2) อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ : k (k - hat) ^ k P1k1 P2k2 Pnkn + ………. + = n ^ P S k = k i i i = 1 5 - 19 (Expected Rate of Return) กรณีลงทุนในสินทรัพย์ชนิดเดียว Pi = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ i , ki = อัตราผลตอบแทนถ้าเกิดเหตุการณ์ i

  19. ^ kM = 0.3 (100 %) + 0.4 (15 %) + 0.3 (- 70 %) = 15 % ^ kU = 0.3 (20 %) + 0.4 (15 %) + 0.3 (10 %) = 15 % ^ ^ kM = kU = 15 % แต่การกระจายความน่า จะเป็นของอัตราผลตอบแทน ต่างกัน ความเสี่ยงจึงต่างกัน สรุป 5 - 20

  20. 5 - 21 Martin Products U.S. Water ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น 0.4 0.4 0.3 0.3 0.2 0.2 0.1 0.1 อัตราผล ตอบแทน (%) 0 15 100 - 70 อัตราผล ตอบแทน (%) 0 15 20 10 อัตราผลตอบแทน ที่คาดว่าจะได้รับ อัตราผลตอบแทน ที่คาดว่าจะได้รับ

  21. 5 - 22 ความน่าจะเป็น บริษัท U บริษัท M อัตราผล 100 ตอบแทน (%) -70 0 10 15 20 อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Rate of Return)

  22. 2 Variance = n ^ 2 = - ( k k ) P (s) Standard deviation n ^ i i 2 s = - ( k k ) P = i 1 i i = i 1 5 - 23 (3) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่นิยมใช้ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  23. ตัวอย่าง : คำนวณ ของบริษัท M s ^ ^ ki - k (ki - k)2 Pi 100 - 15 = 85 7,225 ( 0.3 ) = 2,167.5 15 - 15 = 0 0 ( 0.4 ) = 0 - 70 - 15 = - 85 7,225 ( 0.3 ) = 2,167.5 2 = 4,335.0 s = 4,335.0 s = 65.84 % 5 - 24

  24. สรุป ^ k Martin Products = U. S. Water = 15 % s Martin Products = 65.84 % s U. S. Water = 3.87 % ของบริษัท M สูงกว่าบริษัท U ความน่าจะเป็นที่ ผลตอบแทนจริง (actual return) จะใกล้เคียงกับ ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ (expected return) ต่ำ บริษัท M จึงมีความเสี่ยงมากกว่าบริษัท U s 5 - 25

  25. ความหมาย ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง % ความน่าจะเป็น บริษัท M บริษัท U 68.26 % - 50.84 ถึง 80.84 11.13 ถึง 18.87 95.46 % - 116.68 ถึง 146.68 7.26 ถึง 22.74 99.74 % - 182.52 ถึง 212.52 - 3.39 ถึง 26.61 บริษัท M มีความเสี่ยงมากกว่าบริษัท U 5 - 26

  26. 5 - 27 บริษัท M ^ k = 15% 68.26% s = 65.84% 95.46% 99.74% ^ k -3s -2s -1s +1s +2s +3s -50.84% 15% 80.84%

  27. 5 - 28 สรุป : การตัดสินใจเลือกลงทุน ^ s 1. กรณี k เท่ากันจะเลือกลงทุนหุ้นที่ ต่ำกว่า 2. กรณี เท่ากันจะเลือกลงทุนหุ้นที่ k สูงกว่า 3. กรณี k สูงกว่าและ ก็สูงกว่าด้วยจะเลือก ลงทุนอย่างไร ^ s ^ s ต้องเปรียบเทียบอัตราความเสี่ยงต่ออัตรา ผลตอบแทน (Coefficient of Variation “CV”)

  28. s Std dev CV = = ^ Mean k 5 - 29 (4) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : Coefficient of Variation ค่าสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวน คือ ความเสี่ยงของผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ 1 หน่วย A standardized measure of dispersion about the expected value, that shows the risk per unit of return.

  29. ^ k s โครงการ ตัวอย่าง X : 60 % 15 % Y : 8 % 3 % CV X 15/60 0.250 CV Y 3/8 0.375 โครงการ Y มีความเสี่ยงมากกว่าโครงการ X จึงตัดสินใจลงทุนในโครงการ X 5 - 30

  30. 5 - 31 เปรียบเทียบการกระจายอัตราผลตอบแทนโครงการ X และ Y ความน่าจะเป็น โครงการ Y โครงการ X 60 0 8 อัตราผลตอบแทนที่ คาดว่าจะได้รับ (%)

  31. s = CV > CV ^ B A k Prob. A B Rate of Return (%) 0 5 - 32 การใช้ CV เปรียบเทียบความเสี่ยง σA = σB แต่ A มีความเสี่ยงมากกว่าเพราะมีโอกาสที่จะเกิดขาดทุนมากกว่า ทั้ง ๆ ที่คำนวณค่าความเสี่ยงได้เท่ากัน (วัดด้วย σ) แต่ผลตอบแทนต่ำกว่า

  32. 5 - 46 (4) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ต้องการ ไม่ชอบความเสี่ยง ซึ่งกำหนด เป็นข้อสมมติของหนังสือเล่มนี้ ผู้ลงทุนทั่วไป ผู้ลงทุนที่มีเหตุผลจะ ไม่ชอบความเสี่ยง

  33. 5 - 47 ทัศนคติของผู้ลงทุนที่มีต่อความเสี่ยง (Investor attitude towards risk) • Risk premium – the difference between the return on a risky asset and less risky asset, which serves as compensation for investors to hold riskiersecurities.(ส่วนชดเชยความเสี่ยง – ผลต่างระหว่างผลตอบแทนจากสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงกับสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ำกว่า ซึ่งจะเป็นผลตอบแทนที่ชดเชยให้แก่ผู้ ที่ลงทุนในหลักทรัพย์ซึ่งมีความเสี่ยงมากกว่า)

  34. 5 - 48 ตลาดที่ผู้ลงทุนมีเหตุผลจะหลีกเลี่ยงความ เสี่ยงโดยไม่จำเป็น หลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยง สูงจะให้ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับสูงด้วย สรุป ถ้าภาวะของตลาดยังไม่เป็นไปตามข้อสรุป ข้างต้นจะมีแรงซื้อ / ขายหลักทรัพย์นั้นต่อไป

  35. 5 - 49 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน (Portfolio Risk) Portfolio: กลุ่มของสินทรัพย์ 2 ชนิดขึ้นไป การลงทุนในสินทรัพย์เป็นกลุ่ม ทำให้ความเสี่ยงต่ำ

  36. (1) ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน ^ (Expected return on a portfolio) = kP ^ ^ ^ ^ kP = w1k1 + w2k2 + . . . . . . . . . wnkn n ^ S ^ k = w k p i i i = 1 ^ ^ kP= ค่าถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของki 5 - 50

  37. 5 - 51 ตัวอย่าง ลงทุนซื้อหุ้นสามัญ 3 บริษัท สัดส่วนของ เงินลงทุน 1 : 2 : 2 อัตราผลตอบแทนที่คาด ว่าจะได้รับ 12.0, 11.5, และ 10.0 % ^ ^ ^ ^ kP = w1k1 + w2k2 + . . . . . . . . . wnkn = 0.2 (12%) + 0.4 (11.5 %) + 0.4 (10.0 %) = 2.4 +4.6 + 4.0 =11 % เมื่อลงทุนไปแล้ว 1 ปี จะทราบว่าสินทรัพย์แต่ละตัวให้ อัตราผลตอบแทนจริง เท่าไร ( ki )

  38. 5 - 52 (2) ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน : P s จะนำ ของสินทรัพย์ลงทุนแต่ละตัว มาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักไม่ได้ s Pจะต่ำกว่าค่าถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ i ตามปกติ s s เพราะผลตอบแทนของสินทรัพย์แต่ละตัวมีความสัมพันธ์กัน Correlation Coefficient : r

  39. Stock W Stock M Portfolio WM 25 25 25 15 15 15 0 0 0 -10 -10 -10 5 - 53 Returns distribution for two perfectly negatively correlated stocks (ρ = -1.0)การแจกแจงผลตอบแทนของหุ้น W และ M ที่มีค่าสหสัมพันธ์ = -1.0 ขจัดความเสี่ยงได้ทั้งหมด

  40. Stock M Stock M’ Portfolio MM’ 25 25 25 15 15 15 0 0 0 -10 -10 -10 5 - 54 Returns distribution for two perfectly positively correlated stocks (ρ = 1.0) การแจกแจงผลตอบแทนของหุ้น M และ M’ ที่มีค่าสหสัมพันธ์ = 1.0 ขจัดความเสี่ยงไม่ได้เลย

  41. Stock W Stock Y Portfolio WY 25 25 25 15 15 15 0 0 0 -10 -10 -10 5 - 55 Returns distribution for two partially correlated stocks (ρ = + 0.67) การแจกแจงผลตอบแทนของ หุ้น W และ Y ที่มีค่าสหสัมพันธ์ = + 0.67 ขจัดความเสี่ยงได้บางส่วน

  42. 5 - 56 สรุปเกี่ยวกับค่า r 1. ความเป็นจริงหุ้นต่างๆ จะมีความสัมพันธ์แบบ Partially (เป็นไปไม่ได้ที่หุ้นต่างๆ จะไม่มีความสัมพันธ์กัน) 2. ความสัมพันธ์ของหุ้นส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 0.5 - 0.7 เมื่อกระจายการลงทุน คือ ลงทุนในหุ้นเพิ่มขึ้นใน portfolio จะพบว่าไม่สามารถขจัดความเสี่ยงทั้งหมดได้ ขจัดความ เสี่ยงได้บางส่วน (แต่ยังคงมีความเสี่ยงบางส่วนเหลืออยู่) จะขจัดได้เพียงใดขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของหุ้นนั้น

  43. 5 - 57 3. Portfolio ควรมีการกระจายการลงทุนใน หุ้นต่างอุตสาหกรรมกัน เพราะค่า r จะต่ำ ทำให้มีความเสี่ยงของ portfolio ต่ำด้วย

  44. 5 - 58 (3) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้กับความเสี่ยงทางตลาด Stand-alone Market Firm-specific + = risk risk risk ความเสี่ยงทางตลาดเป็น ส่วนหนึ่งของ stand - alone risk ของหลักทรัพย์ซึ่งไม่ สามารถขจัดได้โดยกระจาย การลงทุนและวัดด้วยค่า b เป็นความเสี่ยงส่วน หนึ่งของหลักทรัพย์ ที่สามารถขจัดได้โดย การกระจายการลงทุน

  45. 5 - 59 ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ เป็นความเสี่ยงที่ขจัดได้โดยการกระจายการลงทุน Diversifiable Company - Specific Unsystematic Risk เป็นความเสี่ยงของ หลักทรัพย์นั้น เช่น โครง สร้างเงินทุนของกิจการ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ฯลฯ

  46. 5 - 60 ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความเสี่ยงนี้ขจัดไม่ได้แม้ว่าจะการกระจายการลงทุน เช่นความเสี่ยงจากภัยสงคราม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น Relevant Market Non - diversifiable Systematic Risk ความเสี่ยงนี้ยังมีอยู่ใน portfolio บางครั้ง เรียกว่า ความเสี่ยงทางตลาด วัดได้โดยค่าเบต้า [beta“b”] ถ้าความเสี่ยงนี้สูงผู้ลงทุนจะต้องการอัตราผลตอบแทนสูง

  47. 5 - 61 กรณีลงทุนในหุ้นเพิ่มขึ้นมีผลทำให้ความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์ลงทุน (portfolio) ลดลง แต่อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับเท่าเดิม ^ kp คงที่ s P

  48. 5 - 62 ความน่าจะเป็น Large 2 1 0 15 ? s Even with large N, 20% p

  49. Risk Company Specific s Stand-Alone Risk p s M 5 - 63 การลงทุนในหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ จะลดลง (ความเสี่ยงทางตลาดไม่เปลี่ยนแปลง) s (%) p 35 = 20 Market Risk (คงที่) 0 2,000+ 10 20 30 40 # Stocks in Portfolio

  50. 5 - 64 อธิบายรูป :เมื่อเพิ่มจำนวนหุ้นที่ลงทุน จะทำให้ความเสี่ยงลดลง เมื่อเพิ่มจำนวนหุ้นถึง 10 หุ้น P จะลด ลงช้า ๆ และเมื่อเพิ่มจำนวนหุ้นถึง 40 หุ้น จะเหลือเพียงเล็กน้อย จนกระทั่ง P ใกล้เคียงหรือประมาณ 20 % = M s s P s s

More Related