1 / 38

ทิศทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางในอนุภูมิภาค

ทิศทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางในอนุภูมิภาค. ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. 30-2008. ที่ตั้งของประเทศไทยอยู่ในภูมิรัฐศาสตร์ที่เหมาะสมในการเป็น HUB ของภูมิภาค. กวางโจว. คุนหมิง. จิ่งหง. กวางสี. เชียงราย. ฮานอย.

quintessa
Download Presentation

ทิศทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางในอนุภูมิภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางในอนุภูมิภาค ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 30-2008 TANIT SORAT

  2. ที่ตั้งของประเทศไทยอยู่ในภูมิรัฐศาสตร์ที่เหมาะสมในการเป็น HUB ของภูมิภาค กวางโจว คุนหมิง จิ่งหง กวางสี เชียงราย ฮานอย ท่าเรือดานัง สนามบินสุวรรณภูมิ กรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง กัวลาลัมเปอร์ TANIT SORAT สิงคโปร์ ท่าเรือตันจุง เพเลพาส ธนิต โสรัตน์

  3. Myanmar South China Sea Lao PDR Thailand Vietnam Andaman sea Cambodia Siam Gulf ประเทศต่างๆในอนุภูมิภาค 6ประเทศ: กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนามและจีน ประชากร : 313 ล้านคน พื้นที่รวม : 1.94 ล้าน ตร.กม. GDP รวม : 976 ล้านเหรียญ สรอ.

  4. ทำไม?? ประเทศไทยจึงต้องเป็น Region Logistics Hub. • มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบทางอุตสาหกรรม • มีแรงงานราคาถูกจำนวนมาก สำหรับรองรับภาคการผลิต • เป็นแหล่งการลงทุนที่สำคัญของโลก และเป็นสมาชิก GMS/ACMECS/ASIAN • เป็นอาณาบริเวณของประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูงที่สุด ทำให้สามารถรองรับการกระจายสินค้าจากไทย • ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคล้วนแต่เป็นสมาชิกของอาเซียน (ยกเว้นจีน) • ข้อตกลง FTA กับจีน – อาเซียน จะเป็น ¼ ของการค้าโลก • เป็นแหล่งวัตถุดิบและเป็นตลาดการส่งออกเกือบ 30.7%ของมูลค่าการส่งออกของไทย • มีความคล้ายกันด้านประวัติศาสตร์ – วัฒนธรรม และประเพณี TANIT SORAT

  5. New Trade Lane and New Market การให้ความสำคัญต่อสัดส่วนตลาดในภูมิภาค ASEAN21.3% CHINA 9.7% 36.7% HK 5.77% EU 14.0% USA 12.6% 38.5% JP 11.9 TANIT SORAT

  6. North – South Economic Corridor เส้นทางเศรษฐกิจระเบียงเหนือ-ใต้ R3W แม่น้ำโขง R3E R2 R11 เวียงจันทน์ อุตรดิตถ์ - ภูดู่ เลย - ท่าลี่ TANIT SORAT

  7. เส้นทาง R3Eระเบียงเศรษฐกิจเชื่อมโยงโครงข่ายเหนือ-ใต้ North – South Economic Corridor • เส้นทาง R3E ซึ่งเป็นถนนที่มีระยะทางสั้นที่สุดในการเชื่อมโยงประเทศไทย , ประเทศ สปป.ลาว และประเทศจีนตอนใต้ • ภาคเหนือตอนบนกลายเป็นจุดยุทธศาสตร์ต่อโอกาสการขยายเส้นทางการค้าและการลงทุน ในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่างประเทศจีนและประเทศต่างๆในอาเซียน • เส้นทาง R3E หรือที่จีนเรียกว่า คุนมั่ง-กงลู่ เป็นถนนตามมาตรฐาน GMS ที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ สามารถใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าที่สั้นที่สุดในการเชื่อมประเทศไทยกับประเทศจีน TANIT SORAT

  8. R3E กรุงเทพ – คุนหมิง ระยะทาง 2,036 กิโลเมตร • เส้นทางในประเทศไทย มีระยะทางรวมกันประมาณ 945 กิโลเมตร ประกอบด้วย • ช่วงกรุงเทพ-เชียงราย มีระยะทาง 830 กิโลเมตร • ช่วงอำเภอเชียงราย –อำเภอเชียงของ ระยะทาง 110 กิโลเมตร • เส้นทางในประเทศ สปป.ลาว มีระยะทางประมาณ 228 กิโลเมตร • เส้นทางในประเทศจีน มีระยะทาง 868 กิโลเมตร TANIT SORAT

  9. เส้นทาง R3E (ไทย-สปป.ลาว) ห้วยทราย (Houay Xay) จนถึงบ้านสอด (Ban Sod) เส้นทาง R3E ในส่วนที่ไทยก่อสร้าง บ้านสอดจนถึงเมืองน้ำลัง (Nam Lang) เส้นทางน้ำลัง-บ่อเต็น-หม่อฮัน TANIT SORAT

  10. สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 เชียงของ – บ่อแก้ว บริเวณที่จะก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง TANIT SORAT

  11. Transport Integration สภาพแม่น้ำโขงมีเกาะแก่งเป็นอุปสรรคต่อการขนส่ง ท่าเรือเชียงแสน TANIT SORAT

  12. เส้นทาง R3 ในประเทศจีน จากชายแดน สปป.ลาว จนถึงนครคุนหมิงในมณฑลยูนาน มีระยะทางประมาณ 868 กิโลเมตร • เส้นทางหม่อฮัน –จิ่งหง ระยะทางประมาณ 330 กิโลเมตร เส้นทางจะตัดตรงเข้าไปจนถึงเมืองกาหลั่นป้า ระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร จะเข้าสู่นครจิ่งหง • เส้นทางจิ่งหง-คุนหมิงระยะทางประมาณ 538 กิโลเมตร เส้นทางจะผ่านอุโมงค์ทั้งเล็กและใหญ่ประมาณ 40 อุโมงค์ อุโมงค์มั่งเจียง ยาว 3.8 กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของอุโมงค์กว่า 40 แห่งของเส้นทาง R3 ในประเทศจีน TANIT SORAT

  13. แผนที่เส้นทาง North-South Corridor ตาหลี่ A16 เมิงยุ (รัฐชาน) ชิตเว่

  14. เส้นทาง R3E Opportunity or Threat การปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับจีน จึงต้องมีความเข้าใจทั้งในด้านจุดแข็งที่เป็น Strength และจุดอ่อนที่เป็น Weakness รวมทั้งโอกาสและภัยคุกคาม โดยการนำเส้นทางที่ไทยเชื่อมโยงกับจีนเช่นเส้นทางหมายเลข R3E เข้ามาพิจารณาในส่วนของ New Trade Lane ส่วนผลประโยชน์ที่ได้รับคงมีทั้งผู้ที่ได้ประโยชน์และกลุ่มเสียประโยชน์ ซึ่งภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องพิจารณาผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ เพราะเป็นผลประโยชน์แห่งชาติ TANIT SORAT

  15. ด่านแม่สอด - เมียวดี West Economic Corridor เส้นทางแม่สอด-กอกอแระ ท่าเรือข้ามแม่น้ำเมย TANIT SORAT

  16. East Economic Corridorเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไทย สปป.ลาว – เวียดนาม - จีน สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 2 (1.6กม.) ไทย-ลาว ใช้เงินกู้ JBIC 4,753.7 ล้านเยน ก่อสร้าง 2547-2549 แล้วเสร็จปลายปี 49 6 สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 มุกดาหาร - สะหวันนะเขต TANIT SORAT

  17. ประเทศเวียดนาม ด่านแดนสะหวัน – ลาวบาว – ดงฮา - ดานัง อุโมงค์ไฮ-วัน เส้นทางเชื่อมโยงท่าเรือดานัง ท่าเรือดานัง TANIT SORAT

  18. เส้นทางเศรษฐกิจระเบียงตะวันออกเฉียงใต้ ทางหมายเลข R48 , R5 (ไทย-พนมเปญ-โฮจิมินห์) นัยนิงห์ TANIT SORAT

  19. เส้นทางหมายเลข 5 (ศรีโสภณ – พระตะบอง - พนมเปญ) เส้นทางหมายเลข 5 TANIT SORAT

  20. R68 R67 ไทย ช่องเม็ก - จำปาสัก ช่องจอม จ.สุรินทร์ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ช่องสะงำ-อัลลองเวง-เสียมราฐ (151กม.) ไทยให้ความช่วยเหลือเป็นเงินให้เปล่า 126 ลบ. อรัญประเทศ/ปอยเปต กัมพูชา เสียมราฐ ตราด พนมเปญ เกาะกง เกาะกง-สแรแอมปึล (151 กม.) ไทยให้ความช่วยเหลือเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรน 856 ลบ. เพื่อปรับปรุงถนน (อยู่ระหว่างก่อสร้าง) และเงินให้เปล่า 288 ลบ. เพื่อสร้างสะพาน 4 แห่ง (เริ่มก่อสร้างปี 2548) คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2550 สะแรอัมปึล โฮจิมินห์ ซิตี้ เวียดนาม เส้นทางคมนาคม R67 , R68 เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา - เวียดนาม

  21. เขตเศรษฐกิจพิเศษพนมเปญ / สีหนุวิลล์โอกาสการค้า - การลงทุน TANIT SORAT

  22. TANIT SORAT

  23. Road Transport HUB การขนส่งทางถนน ในอนาคตอันใกล้ จะเป็นรูปแบบการขนส่งที่สำคัญ และมีประสิทธิภาพมากกว่าทุก Mode การขนส่งในการเชื่อมโยง พื้นที่ภายในแผ่นดินของประเทศต่างๆในอนุภูมิภาคอินโดจีนและจีนตอนใต้ ซึ่งจะมีการเชื่อมโยงเส้นทางถนนถึงกันอย่างสะดวกส่งผลให้ไทยเป็นศูนย์กลาง Logistics Hub ของภูมิภาค ธนิต โสรัตน์ TANIT SORAT

  24. การเตรียมพร้อมและมีขีดความสามารถในการให้บริการ การขนส่งและส่งมอบสินค้าในระดับภูมิภาค • Cross Border/ Frontier Delivery ระดับขนส่งชายแดน • Transhipment Service ระดับขนส่งผ่านแดน • International Logistics Service ระดับขนส่งระหว่างประเทศ TANIT SORAT

  25. เร่งทำความตกลงการขนส่งระหว่างประเทศกับประเทศเพื่อนบ้านเร่งทำความตกลงการขนส่งระหว่างประเทศกับประเทศเพื่อนบ้าน 41 TANIT SORAT

  26. ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านCross Border Collaborate Strategy • เร่งแก้ไขระเบียบขนส่งข้ามแดนที่แต่ละประเทศ ซึ่งมีข้อตกลงระดับ GMS และอาเซียน และในทางปฏิบัติยังไม่สามารถใช้ให้เกิดผลในทางรูปธรรม ซึ่งต้องมีการเร่งในการทำ Truck Visa และ Diver Visa • SSI: Single Stop Inspection ภาครัฐของแต่ละประเทศจะต้องเร่งทำความตกลงให้เกิดเป็นผลโดยเร็วเนื่องจากพิธีการศุลกากรของแต่ละประเทศจะมีการตรวจที่มีการซ้ำซ้อนมีความล่าช้าซึ่งเป็นอุปสรรคที่สำคัญ • e-Logistics ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องมีการเร่งพัฒนาและส่งเสริมให้มีการในระบบ electronic มาใช้ในธุรกรรมการขนส่งข้ามแดนและการขนส่งข้ามพรมแดนและการขนส่งระหว่างประเทศโดยให้ครอบคลุมทั้งกระบวนการ Customs Immigration freight transport • ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตไปอยู่ระหว่างรายต่อของแต่ละประเทศเพื่อให้เป็นการส่งเสริมให้เกิดมูลค้าเพิ่มของการใช้ทรัพยากรและประโยชน์ของพื้นที่ซึ่งจะเป็นผลประโยชน์รวมกัน TANIT SORAT

  27. Opportunity • Border Industrial Free Zone : เขตอุตสาหกรรมการผลิตชายแดน • Co-Production : การผลิตร่วมด้วยการใช้ศักยภาพด้านทรัพยากรและแรงงาน • Off Shore Factory : การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน TANIT SORAT

  28. Co-Production ประกอบด้วย • สินค้าอุตสาหกรรมที่คิดว่าเป็นประโยชน์ร่วมกันที่จะทำให้เกิดการผลิตในพื้นที่ • ศักยภาพในประเทศต่างๆ กับขีดความสามารถในการแข่งขันลดน้อยลงของไทย อุตสาหกรรมใดบ้างที่ใช้แรงงานมาก หรืออุตสาหกรรมที่ใช้ผลผลิตทางการเกษตร • อุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบทางการเกษตร • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมาก TANIT SORAT

  29. Offshore Factory การลงทุนในประเทศ GMS / ACMECS • หาแหล่งวัตถุดิบ เช่น การเกษตร (Contract Farming) เหมืองแร่ ประมง พลังงาน และอัญมณี • ขยายตลาดในต่างประเทศทั้งสำหรับสินค้าและบริการ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ อาหารสัตว์ เกษตรแปรรูป โทรคมนาคม โรงแรม นิคมอุตสาหกรรมและก่อสร้าง • หาฐานการผลิตต้นทุนต่ำหรือที่มีความพร้อมด้านปัจจัยการผลิตมากกว่า เช่น สิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม และเครื่องประดับ • ดูดซับเทคโนโลยีโดยผ่านการลงทุนร่วมกับธุรกิจต่างประเทศที่มีศักยภาพ TANIT SORAT

  30. กุญแจแห่งความสำเร็จของการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาคกุญแจแห่งความสำเร็จของการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาค การพัฒนาการใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อเส้นทางที่ไทยได้ลงทุนภาครัฐจะต้องมียุทธศาสตร์ที่ชัดเจน “New Trade Lane” ก็เป็นเส้นทางการค้าใหม่ของประเทศไทย ภาครัฐของไทยไม่ควรที่จะใช้สูตรสำเร็จมาใช้กับภาคธุรกิจในการใช้รับมือกับประเทศจีน ธุรกิจของไทยที่เป็น SMEs จะมีปัจจัยอะไรที่เป็นจุดแข็งที่จะย้ายฐานการผลิตเข้าไปในจีนและเพื่อนบ้าน ภาครัฐจะต้องให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง มีทั้งที่เป็นบวกและเป็นลบ และควรมีการศึกษาและหรือวิจัยในเชิงลึก เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐานสำหรับนักธุรกิจที่จะเข้าไปลงทุนในประเทศจีน การขาดการบูรณาการของหน่วยงานของรัฐ ในการแก้ปัญหากฎเกณฑ์และกลไกของประเทศเพื่อนบ้านให้สอดรับกับอุปสงค์ของภาคธุรกิจ ซึ่งภาครัฐไม่ควรจะเน้นที่ Protocol หรือรูปแบบ แต่จะต้องเน้นที่ผลลัพธ์ที่สามารถจับต้องเป็นรูปธรรม TANIT SORAT

  31. จ.สุราษฎร์ธานี นิคมอุตสาหกรรมอาหารทะเลกระป๋อง นิคมอุตสาหกรรมไม้และเฟอร์นิเจอร์ นิคมอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ จ.กระบี่ นิคมอุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง จ.นครศรีธรรมราช นิคมอุตสาหกรรมอาหารทะเลกระป๋อง จ.สงขลา นิคมอุตสาหกรรมยางพารา นิคมอุตสาหกรรมอาหารทะเลกระป๋อง นิคมอุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง นิคมอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี จ.ปัตตานี นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จ.ตรัง นิคมอุตสาหกรรมยางพารา นิคมอุตสาหกรรมอาหารทะเลกระป๋อง จ.สตูล นิคมอุตสาหกรรมอาหารทะเลกระป๋อง นิคมอุตสาหกรรมไม้และเฟอร์นิเจอร์ไม้ นิคมอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาคใต้Southern Sea Board TANIT SORAT สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  32. ขนอม สิชล ทับละมุ กระบี่ สงขลา แนว Landbridge กระบี่ – ขนอม ทับละมุ – สิชล สตูล - สงขลา สตูล East-West Costal Land Bridge TANIT SORAT สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  33. อุปสรรคของการขนส่งทางทะเลฝั่งตะวันตก ประเทศไทยต้องพึ่งพิงท่าเรือประเทศเพื่อนบ้าน Chittagong Tavoy LaemChabang Ranong Pak Bara Tan jung palapas Colombo Penang Kelang Singapore TANIT SORAT สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  34. ปัจจัยที่ประเทศไทยควรจะพิจารณาในการส่งเสริมการค้า-การลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้านปัจจัยที่ประเทศไทยควรจะพิจารณาในการส่งเสริมการค้า-การลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน • บทบาทภาครัฐ จะต้องมีความชัดเจน • ภาครัฐต้องเร่งทำความตกลงเกี่ยวกับกฎเกณฑ์และระเบียบว่าด้วยการขนส่งผ่านแดน ไทย –ลาว-จีน • ประเทศไทยเองจะต้องทำความเข้าใจกับนักธุรกิจท้องถิ่นและวางยุทธศาสตร์ในการเตรียมรับมือกับสินค้าของจีน • การใช้ประโยชน์เส้นทางจีนและไทย • การส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสี่ประสาน (ไทย-ลาว-พม่า-จีน) • ต้องเร่งเจรจาเกี่ยวกับการออกวีซ่า และความสะดวกทางการค้า TANIT SORAT

  35. โครงการร่วมมือขับเคลื่อนเศรษฐกิจโครงการร่วมมือขับเคลื่อนเศรษฐกิจ • Infrastructure Corridor Link : โครงข่ายเชื่อมโยง • New Trade Lane / Logistics : เส้นทางการค้าใหม่-โลจิสติกส์ • Trade Facilitation : ข้อตกลงความสะดวกทางการค้า SSI / Single Visa , TR / Transport Agreement • Contract Farming : โครงการช่วยเหลือการเกษตร • Cross Border / Co-production : โครงการอุตสาหกรรมชายแดน • Use of Bath Currency : การสนับสนุนเงินสกุลบาทในภูมิภาค TANIT SORAT

  36. การปรับตัวของผู้ประกอบการไทยRegional Priority Business Development Private Province Region Global Awareness Global Business Model Local to Global Responsiveness Cost Effective Model Competitiveness Public Policy TANIT SORAT

  37. Content of the world is flat. การเตรียมตัวไปสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของอนุภูมิภาค • Global Tough : เกาะกระแสโลก • Self Dependent : การพึ่งพาตนเอง • Change Management : ขีดความสามารถในการ แข่งขันในระดับนานาชาติ • Risk Management : การสร้างภูมิคุ้มกันความเสี่ยง TANIT SORAT

  38. END TANIT SORAT

More Related