1 / 51

430201 Engineering Statics

430201 Engineering Statics. (สถิตยศาสตร์วิศวกรรม). สรุปบทที่ 5/3. ขั้นตอนในการแก้ปัญหาสมดุลในสองมิติ. 1. เขียน FBD. 2. ประยุกต์ใช้ สมการความสมดุล เพื่อหาตัวแปรที่ไม่ทราบค่า. ใน 2 มิติ. ใน 3 มิติ. สมดุลของอนุภาค. จากรูป เราควรเริ่มเขียน FBD ที่จุดใดก่อน ???. T BA. y. 60 o. B. x.

Download Presentation

430201 Engineering Statics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 430201 Engineering Statics (สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)

  2. สรุปบทที่ 5/3 ขั้นตอนในการแก้ปัญหาสมดุลในสองมิติ 1. เขียน FBD 2. ประยุกต์ใช้สมการความสมดุลเพื่อหาตัวแปรที่ไม่ทราบค่า ใน 2 มิติ ใน 3 มิติ

  3. สมดุลของอนุภาค จากรูป เราควรเริ่มเขียน FBD ที่จุดใดก่อน??? TBA y 60o B x 30o TBC 4(9.81) N

  4. y 39.24 kN 39.24 kN TCD 30o 30o x C F Note: 1. ถ้า cable สมมาตรรอบจุด แรงตึงใน cable ทั้งสองจะเท่ากัน 2. แรงตึงสูงสุดจะเกิดขึ้นใน cable ที่มีมุมกระทำกับแกนนอนสูงสุด

  5. สมดุลของวัตถุ

  6. 400 N 0.5 m 0.2 m 0.1 m y x 0.5 m 45o θ F FA

  7. หา TB Az TB A z Ax B E D W = 981 N Dx Dy y x Dz

  8. Az TB A z Ax B E D W = 981 N Dx Dy y x Dz หา Dz

  9. Az TB A z Ax B E D W = 981 N Dx Dy y x Dz หา Az

  10. Az TB A z Ax B E D W = 981 N Dx Dy y x Dz หา Ax

  11. Start of the Lecture 12

  12. บทที่ 6:การวิเคราะห์โครงสร้าง • จุดประสงค์ • เพื่อที่จะได้ทราบและเข้าใจถึงวิธีการหาค่าแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน โดยวิธีการตัดจุดต่อ และวิธีการตัดหน้าตัด • เพื่อให้วิเคราะห์หาค่าแรงที่กระทำต่อชิ้นส่วนโครงเฟรมและชิ้นส่วนของเครื่องมือกลที่เชื่อมต่อกันด้วยหมุดได้

  13. การประยุกต์ใช้ โครงข้อหมุน (Truss) มักถูกใช้ในการรองรับหลังคา ถ้ากำหนดให้ truss มีรูปร่างและขนาด และถูกกระทำโดยน้ำหนักบรรทุกแล้ว เราจะหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของ trussและหาขนาดของชิ้นส่วนดังกล่าวได้อย่างไร?

  14. การประยุกต์ใช้ นอกจากนั้นแล้ว truss ยังถูกใช้ในโครงสร้างประเภทอื่นๆ เช่น cranes และ frames ของอากาศยาน เป็นต้น เราจะออกแบบโครงสร้างดังกล่าวให้มีน้ำหนักเบาที่สุด โดยสามารถรองรับแรงกระทำได้อย่างปลอดภัยและมีราคาถูกที่สุดได้อย่างไร?

  15. 6.1 โครงข้อหมุนอย่างง่าย (simple truss) โครงข้อหมุน (truss)เป็นโครงสร้างที่ได้มาจากการนำชิ้นส่วนที่ตรงและยาวหลายๆ ชิ้นมาเชื่อมต่อกันที่ปลายในรูปแบบที่เป็นสามเหลี่ยม Roof truss Bridge truss โครงข้อหมุนที่มีชิ้นส่วนวางอยู่ในระนาบเดียวกันเรียกว่า Planar truss

  16. สมมุติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงข้อหมุนสมมุติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงข้อหมุน • ชิ้นส่วนของโครงข้อหมุนถูกเชื่อมต่อกันด้วยหมุนที่ไร้แรงเสียดทาน • แรงกระทำภายนอกกระทำต่อโครงข้อหมุนที่จุดเชื่อมต่อ (joints) เท่านั้น

  17. จากสมมุติฐาน: ชิ้นส่วนของโครงข้อหมุนจะเป็น Two-force member หรือองค์อาคารที่รับแรงในแนวแกน โครงข้อหมุนอย่างง่าย (simple truss)- โครงข้อหมุนแบบพื้นฐานที่สุด ที่มีความแกร่ง (rigidity) และมีเสถียรภาพ (stability) จะอยู่ในรูปของสามเหลี่ยม

  18. 6.2 วิธีการตัดจุดเชื่อมต่อ (method of joints) เมื่อโครงข้อหมุนอยู่ในความสมดุลแล้ว จุดเชื่อมต่อในโครงข้อหมุนจะอยู่ในความสมดุลด้วย ดังนั้น

  19. ขั้นตอนในวิเคราะห์ • เขียน FBDของโครงข้อหมุน และหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ • เขียน FBD ของจุดเชื่อมต่อที่มีจำนวนแรงที่ไม่ทราบค่าไม่เกินสองแรง • เขียนสมการสมดุลของแรงและแก้สมการหาค่าแรงที่ไม่ทราบค่า จากนั้น ตรวจสอบความถูกต้องของทิศทางของแรงที่ได้ • ทำการวิเคราะห์หาแรงที่จุดเชื่อมต่ออื่นๆ และตรวจสอบความถูกต้องของสมการความสมดุลที่จุดเชื่อมต่อสุดท้าย

  20. B 3 kN 450 D 450 2 m 30o 30o C A 2 m 2 m EXAMPLE จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของโครงข้อหมุน

  21. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน B 3 kN 450 450 D 2 m 30o 30o C Ax A Ay 2 m 2 m Cy

  22. 3 kN 450 450 2 m 30o 30o Ax Ay Cy 2 m 2 m y x 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน B D C A เราควรเริ่มใช้วิธี method of joint ที่จุดเชื่อมต่อใด?

  23. 3 kN 450 450 2 m 30o 30o Ax Ay Cy 2 m 2 m 3. วิธี method of joint y FCB FCD 45o x C 30o 1.5 kN

  24. 3 kN 450 450 2 m 30o 30o Ax Ay Cy 2 m 2 m y FDB D D x 30o 30o FDA FDC = 4.10 kN

  25. 3 kN 450 450 2 m 30o 30o Ax Ay Cy 2 m 2 m y 45o FAB 3 kN FDA = 4.10 kN x A 30o 1.5 kN

  26. EXAMPLE จงหาสมการของแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของโครงข้อหมุนเนื่องจากแรง P B 3/4 a 1/4 a D C A a a P

  27. y x FBD ของโครงข้อหมุน: เพื่อหาแรงปฏิกิริยา B 3/4 a 1/4 a Ax D C A a a Ay Cy P

  28. B 3/4 a 1/4 a Ax D C A a a Ay Cy P y x เราควรเริ่มใช้สมการความสมดุลที่ใด?? เราควรเริ่มใช้ joint ใดในการหาแรงภายในชิ้นส่วนของโครงข้อหมุน??

  29. B 3/4 a 1/4 a 0 D C A a a P/2 P/2 P y 1 x 4 Joint A: FAB 45o FAD A P/2

  30. Joint D: FDB 4 4 1 1 D 0.687 P 0.687 P P

  31. B 3/4 a 1/4 a Ax D C A a a Ay Cy P y x ถ้ากำหนดให้ชิ้นส่วนรับแรงกดอัดมีความต้านทานต่อแรงกดอัดได้สูงสุด 800 N และชิ้นส่วนรับแรงดึงมีความต้านทานต่อแรงดึงได้สูงสุด 1500 N จงหาค่าแรง P สูงสุดที่สามารถกระทำต่อโครงข้อหมุนเมื่อ a = 3.0 m 1500 N  FCD (T) 1500 N  FAD (T) 800 N  FCB (C) 800 N  FAB (C) 1500 N  FDB (T)

  32. เราควรสมมุติให้ชิ้นส่วนใดเกิดการวิบัติก่อน???เราควรสมมุติให้ชิ้นส่วนใดเกิดการวิบัติก่อน???

  33. EXAMPLE จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของโครงข้อหมุน 400 N C B 4 m D A 600 N 3 m 3 m

  34. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน 400 N Cy C B Cx 4 m D A 600 N Ay 3 m 3 m

  35. 400 N Cy C B Cx 4 m D y A 600 N Ay 3 m 3 m x 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน เราควรเริ่มใช้วิธี method of joint ที่จุดเชื่อมต่อใด?

  36. 200 N 400 N C B 600 N 4 m A D 600 N 3 m 3 m 600 N 3. วิธี method of joint FAB y 5 4 A 3 x FAD 600 N

  37. 200 N 400 N C B 600 N 4 m A D 600 N 3 m 3 m 600 N y FDC FDB 5 4 3 x 600 N D FAD =450 N

  38. Cy 400 N C B Cx 4 m A D 600 N 3 m 3 m Ay 200 N y C 600 N x FCB 200 N

  39. 6.3 ชิ้นส่วนที่มีแรงกระทำเป็นศูนย์ (zero-force members) ถ้า joint ของโครงข้อหมุนเกิดจากการเชื่อมต่อกันโดยชิ้นส่วนเพียง 2 ชิ้นและไม่มีแรงภายนอกหรือแรงปฏิกิริยากระทำที่ joint นั้น ชิ้นส่วนทั้งสองจะเป็น zero-force member ถ้า joint ของโครงข้อหมุนเกิดจากการเชื่อมต่อกันโดยชิ้นส่วน 3 ชิ้น โดยที่ 2 ใน 3 ของชิ้นส่วนเหล่านั้นอยู่ในแนวเดียวกัน และเมื่อไม่มีแรงกระทำที่ jointนั้น ชิ้นส่วนที่เหลือจะเป็น zero-force member

  40. EXAMPLE จงหาชิ้นส่วนที่เป็น zero-force memberของ Fink Roof Truss 5 kN 2 kN C B D A E H F G

  41. 5 kN 2 kN C B D A E H F G

  42. 5 kN 2 kN C B D A E H F G

  43. 5 kN 2 kN C B D A E H F G

  44. ตัวอย่างที่ 6-1 จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของโครงข้อหมุน เมื่อตุ้มน้ำหนักมีมวล 40 kg และระบุด้วยว่าแรงดังกล่าวเป็นแรงกดอัดหรือแรงดึง 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุนและใช้สมการความสมดุล ในที่นี้ เราไม่ต้องหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ สาเหตุคืออะไร?

  45. 3. วิธี method of joint จากรูป ชิ้นส่วนที่แสดงต่อไปนี้เป็น zero-force member FEC FFC FFB FGB

  46. 12 7 1 1

  47. 1 1

  48. ตัวอย่างที่ 6-2 กำหนดให้ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุนสามารถรับแรงกดอัดได้สูงสุด 25 kN และรับแรงดึงได้สูงสุด 30 kN จงหามวลของตุ้มน้ำหนักที่มีค่าสูงสุดที่โครงข้อแข็งสามารถรองรับได้ จากตัวอย่างที่ 6-1 พบว่า ชิ้นส่วนของโครงข้อหมุนที่มีแรงภายในเกิดขึ้นคือ AB, BC, และ CDเป็นแรงกดอัด และ GAเป็นแรงดึง

  49. น้ำหนักสูงสุดที่ชิ้นส่วน AB, BC, และ CDรับได้มีค่าเท่ากับ

  50. น้ำหนักสูงสุดที่ชิ้นส่วน AGรับได้มีค่าเท่ากับ ดังนั้น น้ำหนักบรรทุกที่ทำให้โครงข้อหมุนเกิดการวิบัติคือ 17.68 kN

More Related