1 / 190

ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศกับภาวะการแข่งขันและความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบัน

ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศกับภาวะการแข่งขันและความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบัน. ผศ . ดร . ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน. Agenda. ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาวะการแข่งขัน ความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบัน. การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี. Computers. Broadcasting. Broadband and cable services.

pilis
Download Presentation

ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศกับภาวะการแข่งขันและความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศกับภาวะการแข่งขันและความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบันความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศกับภาวะการแข่งขันและความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบัน ผศ. ดร. ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน

  2. Agenda • ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศ • ภาวะการแข่งขัน • ความร่วมมือของประชาคมโลกปัจจุบัน

  3. การหลอมรวมกันของเทคโนโลยีการหลอมรวมกันของเทคโนโลยี Computers Broadcasting Broadband and cable services Connected to networks PC TV Mobile and Wireless Appliance Cable changes to wireless Electronic Games and Embedded Systems Telecommunications

  4. Technology Convergence

  5. “Ubiquitous Computing” My colleagues and I at PARC believe that what we call ubiquitous computing will gradually emerge as the dominant mode of computer access over the next twenty years. Like the personal computer, ubiquitous computing will enablenothing fundamentally new, but by making everything faster and easier to do, with less strain and mental gymnastics, it will transform what is apparently possible. Dr. Mark Weiser, “The Computer for the 21th Century”, Scientific American, August 1991 U-Government = Government Everywhere(in Everything) ubiquitous [ADJ] ; ซึ่งมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง Syn. omnipresent; pervasive http://lexitron.nectec.or.th/

  6. m-Government :main purposes m-Government • mCommunication: • Improving communication between government and citizens (G2C, C2G) • mServices: • mTransactions • mPayments • mDemocracy • mAdministration • mGovernment is a subset of e-government. • eGovernment is the use of information and communication technologies (ICTs) to improve the activities of public sector organisations. • m-government, those ICTs are limited to mobile and/or wireless technologies like cellular/mobile phones, and laptops and PDAs (personal digital assistants) connected to wireless local area networks (LANs). • mGovernment can help make public information and government services available "anytime, anywhere" to citizens and officials. http://www.e-devexchange.org/eGov/mgovapplic.htm eGovernment for Development :- mGovernment Applications and Purposes Page , Emmanuel C. Lallana, 2004 Source: http://www.e-devexchange.org/eGov/topic4.htm eGovernment for Development, mGovernment: Mobile/Wireless Applications in Government, Emmanuel C. Lallana, 2004

  7. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และนวัตกรรมรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และนวัตกรรม European Commission

  8. ประชุมความร่วมมือด้านโทรคมนาคมและสารสนเทศ 191 ประเทศ • ประชุมความร่วมมือด้านโทรคมนาคมและสารสนเทศ 191 ประเทศ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) จัดประชุมผู้นำอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศระดับโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ในการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมที่โรงแรมรอยัล คลิฟ บีช รีสอร์ท พัทยา ดร.มั่น พัทธโรทัย รัฐมนตรีว่ากการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นประธาน เปิดการประชุมความร่วมมือด้านโทรคมนาคมและสารสนเทศ 191 ประเทศ ซึ่งสถานการณ์และสภาวะแวดล้อมด้านนโยบายโทรคมนาคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกต้องปฏิรูป กฎ ระเบียบ และนโยบายต่าง ๆ เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ตลอดจนเพื่อเอื้อต่อบรรยากาศการลงทุนทั้งจากภายใน และภายนอกประเทศ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญดังจะเห็นได้จากการที่หน่วยงานของรัฐบาลในหลายประเทศ เปลี่ยนแปลงบทบาท จากการเป็นผู้กำหนดนโยบายมาเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ดูแลเพียงอย่างเดียว ทำให้มีจำนวนหน่วยงานกำกับดูแลเพิ่มขึ้นทั่วโลก หน่วยงานเหล่านี้จึงต้องมีเวทีสำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล และร่วมกันพิจารณากำหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ด้านการกำกับดูแลสำหรับให้มวลสมาชิกนำไปปฏิบัติในประเทศ ดังนั้นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้ริเริ่มเวทีประชุมเพื่อเปิดโอกาสให้หน่วยงานกำหนดนโยบาย หน่วยงานกำกับดูแล และผู้ประกอบการจากประเทศสมาชิกได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ และร่วมกันพิจารณาประเด็นด้านการกำกับดูแลโทรคมนาคมและสารสนเทศ และนำเสนอวิสัยทัศน์ และศักยภาพของประเทศให้เป็นที่ประจักษ์ต่อนานาประเทศที่เป็นสมาชิก ITU ทั้ง 191 ประเทศ เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงจากภาคอุตสาหกรรมทั่วโลก ได้ร่วมอภิปรายปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ในการพัฒนาอุตสหกรรม ICT และนำเสนอต่อหน่วยงานกำกับดูแลเกี่ยวกับบรรยากาศที่มั่นคงสำหรับการลงทุน

  9. WiMAX Technology

  10. WiMAX • ไวแม็กซ์ (WiMAX)เป็นเทคโนโลยีบนบรอดแบนด์แบบไร้สาย ซึ่งคาดว่าจะถูกนำมาให้ใช้กันทั่วภูมิภาคเอเชีย ซึ่งปัจจุบันประเทศเวียดนาม และอินโดนีเซีย ได้มีการลงทุนริเริ่มกันไปเรียบร้อยแล้ว สำหรับประเทศไทยได้มีการทดลองติดตั้งบางส่วนในหลายจังหวัด อาทิ นครราชสีมา ขอนแก่น หาดใหญ่ เชียงใหม่ เป็นต้น • ไวแม็กซ์ (WiMAX) จะสามารถทำงานได้ครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่บนระบบ 3G มากถึง 10 เท่า พร้อมยังมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นมัลติมีเดียที่มีทั้งภาพและเสียงหรือจะเป็นข้อมูลล้วนๆก็ตามได้สูงสุดถึง 75 เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งก็เร็วกว่าระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 3G มากถึง 30 เท่าเลยที่เดียว

  11. IEEE802.16a • ไวแม็กซ์ (WiMAX)บรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงนี้ถูกพัฒนาขึ้นบนมาตราฐานการสื่อสาร IEEE802.16 ซึ่งต่อมาก็ได้พัฒนามาอยู่บนมาตราฐาน IEEE802.16a โดยได้มีการอนุมัติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีระยะรัศมีทำการที่ 31 ไมล์ หรือประมาณ 48 กิโลเมตร

  12. Point-to-multipoint • โดยมาตราฐาน IEEE 802.16a หรือ WiMAX มีความสามารถในการส่งกระจายสัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด (Point-to-multipoint) ได้พร้อมๆกัน โดยมีความสามารถรองรับการทำงานในแบบ Non-Line-of-Sight ได้ สามารถทำงานได้แม้กระทั่งมีสิ่งกีดขวาง เช่น ต้นไม้ หรือ อาคารได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้WiMAX สามารถช่วยให้ผู้ที่ใช้งาน สามารถขยายเครือข่ายเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้กว้างขวางด้วยรัศมีทำการถึง 31 ไมล์ หรือประมาณ 48 กิโลเมตร และมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดถึง 75 Mbps มาตราฐาน IEEE 802.16a นี้ใช้งานอยู่บนคลื่นไมโครเวฟที่มีความถี่ระหว่าง 2-11 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) และยังสามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์มาตราฐานชนิดอื่นๆที่ออกมาก่อนหน้านี้ได้เป็นอย่างดี

  13. มาตราฐานของเทคโนโลยี WiMAX

  14. IEEE 802.16......เป็นมาตราฐานที่ให้ระยะทางการเชื่อมโยง 1.6 - 4.8 กิโลเมตร เป็นมาตราฐานเดียวที่สนับสนุน LoS (Line of Sight) โดยมีการใช้งานในช่วงความถึ่ที่สูงมากคือ 10-66 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)๐ IEEE 802.16a......เป็นมาตราฐานที่แก้ไขปรุงปรุงจาก IEEE 802.16 เดิม โดยใช้งานที่ความถี่ 2- 11 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งคุณสมบัติเด่นที่ได้รับการแก้ไขจากมาตราฐาน 802.16 เดิม คือคุณสมบัติการรองรับการทำงานแบบที่ไม่อยู่ในระดับสายตา (NLoS - Non - Line -of -Sight) ทั้งยังมีคุณสมบัติการทำงานเมื่อมีสิ่งกีดขวาง อาทิ เช่น ต้นไม้ ,อาคาร ฯลฯ นอกจากนี้ก็ยังช่วยให้สามารถขยายระบบเครือข่ายเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงได้อย่างกว้างขวางด้วยรัศมีทำการที่ไกลถึง 31 ไมล์ หรือประมาณ 48 กิโลเมตร และมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ทำให้สามารถรองรับการเชื่อมต่อการใช้งานระบบเครือข่ายของบริษัทที่ใช้สายประเภท ที1 (T1-type) กว่า 60 รายและการเชื่อมต่อแบบ DSL ตามบ้านเรือนที่พักอาศัยอีกหลายร้อยครัวเรือนได้พร้อมกันโดยไม่เกิดปัญหาในการใช้งาน๐ IEEE 802.16e......เป็นมาตราฐานที่ออกแบบมาให้สนับสนุนการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์พกพาประเภทต่างๆ เช่น PDA , Notebook เป็นต้น โดยให้รัศมีทำงานที่ 1.6 - 4.8 กิโลเมตร มีระบบที่ช่วยใฟ้ผู้ใช้งานยังสามรถสื่อสารได้โดยให้คุณภาพในการสื่อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งานแม้ว่ามีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาก็ตาม

  15. How does it work? • ไวแม็กซ์ (WiMAX)บนเทคโนโลยีแบบไร้สายมาตรฐานใหม่ IEEE 802.16 มีความสามรถในการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพสูง โดยใช้หลักการของเทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) ซึ่งเป็นคลื่นความถี่ของวิทยุขนาดเล็ก (Sub-Carrier) มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด โดยการนำคลื่นความถี่วิทยุขนาดเล็กในระดับ KHz มาจัดสรรให้แก่ผู้ใช้ตามข้อกำหนดของคลื่นความถี่วิทยุจนเกิดเป็นเครือข่ายแบบไร้สายที่มีขนาดใหญ่ และรองรับการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงในทุกสถานที่ อย่างที่กล่าวไปแล้วว่าความเร็วสำหรับ ไวแม็กซ์ (WiMAX) นั้นมีอัตราความเร็วในการส่งสัญญาณข้อมูลมากถึง 75 เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) โดยใช้กลไกการเปลี่ยนคลื่นสัญญาณที่ให้ประสิทธิภาพสูง สามารถส่งสัญญาณออกไปได้ระยพไกลมากถึง 31 ไมล์ หรือประมาณ 48 กิโลเมตร นอกจากนี้สถานีฐาน (Base Station) ยังสามารถพิจารณาความเหมาะสมในการรับส่งระหว่างความเร็วและระยะทางได้อีกด้วย • ในส่วนของพื้นที่บริการ ก็สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้อย่างกว้างขวางโดยใช้เทคนิคของการแปลงสัญญาณที่มีความคล่องตัวสูงสำหรับการใช้งานบนมาตรฐาน IEEE 802.16a บนระบบเครือข่ายที่ใช้สถาปัตยกรรมแบบผสมผสาน (Mesh Topology) และเทคนิคการใช้งานกับเสาอากาศ แบบอัจฉริยะ (Smart Antenna) ที่ช่วยประหยัดต้นทุน และมีความน่าเชื่อถือสูงด้วยมีระบบจัดการลำดับความสำคัญของงานบริการ (Qos – Quality of Service) ที่รองรับ การทำงานของบริการสัญาณภาพและเสียง ซึ่งระบบเสียงบนเทคโนโลยี WiMAX นั้นจะอยู่ในรูปของบริการ Time Division Muliplexed (TDM) หรือบริการในรูปแบบ Voice over IP (VoIP) ก็ได้ โดยโอเปอร์เรเตอร์สามารถกำหนดระดับความสำคัญของการใช้งานให้เหมาะสมกับรูปแบบของลัษณะงานส่วนเรื่องระบบรักษาความปลอดภัยนั้น WiMAX มีคุณสมบัติของระบบรักษาความปลอดภัยสูงด้วยระบบรักษารหัสลับของข้อมูลและการเข้ารหัสในการเข้าถึงข้อมูลอย่างเป็นระบบ พร้อมระบบตรวจสอบสิทธิในการใช้งาน

  16. อินเทลร่วมการเปิดตัวไวแม็กซ์ (WiMAX) • อินเทลมองว่าการนำไวแม็กซ์ (WiMAX) มาใช้จะเกิดขึ้นเป็นสามระยะ ระยะแรก คือ เทคโนโลยีไวแม็กซ์ (WiMAX) ซึ่งอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.16 -2004 ที่จะให้การเชื่อมต่อไร้สายแบบเฉพาะที่ผ่านเสาสัญญาณกลางแจ้งซึ่งจะเกิดขึ้นในครึ่งแรกของปี 2548 ความสามรถไร้สายเฉพาะที่กลางแจ้งสามารถใช้ได้กับองค์กรที่มีข้อมูลจำนวนมาก (บริการระดับ T1/E1) ฮอตสปอตและช่องสื่อสารภาคพื้นดินเครือข่ายเซลลูลาร์และบริการสำหรับที่อยู่อาศัยในตลาดระดับบน....... อินเทล คอร์ปอเรชั่น ในฐานะผู้นำของเทคโนโลยี ไวแม็กซ์ (WiMAX) ได้เผยโฉมดีไซน์ของไวแม็กซ์ (WiMAX) แบบ “system-on-a-chop” ที่มีชื่อรหัสว่า Rosedaleให้ได้ชมกันเป็นครั้งแรกเมื่อเร็วๆนี้ ซึ่งเหมาะสำหรับอุปกรณ์ซึ่งสนับสนุนมาตรฐาน IEEE 802.16 -2004 อุปกรณ์นี้จะมีการติดตั้งที่บ้านหรือธุรกิจเพื่อส่งหรือรับสัญญาณบรอดแบนด์ไร้สายทำให้อินเตอร์เน็ตสามรถเชื่อมต่อได้

  17. ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2548 จะสามารถติดตั้งไวแม็กซ์ (WiMAX) ภายในอาคารได้โดยมีเสาอากาศเล็กๆคล้ายกับจุดเชื่อมต่อแลนไร้สายที่ใช้มาตรฐาน 802.11 ในปัจจุบันแบบจำลองไวแม็กซ์ (WiMAX) ที่ใช้ในอาคารแสดงให้เห็นว่าไวแม็กซ์ (WiMAX) สามารถใช้ได้กับบรอดแบนด์ในที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคที่ครอบคลุมพื้นที่ในระยะไกล เนื่องจากอุปกรณ์เหล่านี้ “ผู้ใช้สามารถติดตั้งได้เอง” ลดต้นทุนการติดตั้งสำหรับผู้ให้บริการโทรคมนาคม....... ในปี 2549 เทคโนโลยีที่ใช้มาตรฐาน IEEE 802.16e จะมีการติดตั้งเข้าไปในคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพไร้สายเพื่อสนับสนุนความเคลื่อนไหวระหว่างบริเวณที่ให้บริการไวแม็กซ์ (WiMAX) สามารถใช้ได้กับแอพพลิเคชั่นและบริการแบบพกพาและแบบที่มีประสิทธิภาพไร้สาย ในอนาคตอาจมีการใส่ประสิทธิภาพของไวแม็กซ์ (WiMAX) ลงไปในโทรศัพท์มือถือ

  18. สรุป • ไวแม็กซ์ (WiMAX)เป็นเทคโนโลยีบนบรอดแบนด์แบบไร้สาย มีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล ได้สูงสุดถึง75 เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) มีระยะรัศมีทำการที่ 31 ไมล์ หรือประมาณ 48 กิโลเมตร ไวแม็กซ์ (WiMAX) ถูกคาดหวังว่าจะมีการนำใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศกำลังพัฒนา โดยนำมาใช้เป็นโพรโทคอลสำหรับการส่งสัญญาณเสียงรวมทั้งสื่อในรูปแบบอื่นๆ ผ่านอินเทอร์เน็ต (voice-over-internet-protocol) แทนการส่งสัญญาณผ่านสายทองแดง เทคโนโลยี WiMax จะช่วยให้การติดต่อระยะไกลๆ มีราคาถูกลง เนื่องจากผู้ประกอบการในอนาคตสามารถเปลี่ยนจากการวางสายทองแดงมาเป็นการติดตั้งหอสัญญาณ WiMax แทน มีการคาดการณ์ว่า หาก WiMax ถูกใช้อย่างแพร่หลายแล้ว อุปกรณ์ต่างๆ ที่เคยอยู่กับที่จะถูกเปลี่ยนเป็นอุปกรณ์เคลื่อนที่ และสามารถติดต่อกันง่ายขึ้น ซึ่งในเรื่องนี้ผู้นำในการผลิตชิปแนวหน้าของโลก เช่น บริษัท Intel ก็ให้การสนับสนุนและเริ่มมีแผนที่จะผลิตชิปที่เป็น WiMax เพื่อรองรับมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ Laptop ที่ดีที่สุดในอนาคตซึ่งคาดว่าจะเริ่มในปี 2006-2007......และถึงแม้ว่าในขณะนี้ประเทศไทยอยู่ในขั้นของการทดสอบในบางพื้นที่อยู่ก็ตาม แต่ด้วยเทคโนโลยี WiMAX เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง อีกทั้งยังรองรับเครือข่ายแบบไร้สายที่กว้างขวางสำหรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และหากมองถึงประโยชน์ในการขยายเครือข่ายบรอดแบนด์ให้เข้าถึงพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลแล้ว ผลประโยชน์ก็จะเกิดขึ้นกับผู้ใช้งานทุกคนที่จะมีโอกาศได้ใช้เครือข่ายสื่อสารความเร็วสูงอย่างเท่าเทียมกัน ทำให้อนาคตอันใกล้นี้ เราคงจะได้สัมผัสถึงเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่าง WiMAX นี้อย่างแน่นอน

  19. Web Services

  20. What is Web Services? . Web Services เป็นชื่อเทคโนโลยีระดับสูงในการพัฒนาระบบ ผ่านอินเตอร์เน็ต . บริการต่างๆ ที่เปิดให้ใช้ผ่านทาง Internet หรือ Private (Intranet) Network . ใช้ระบบข้อความ (Message) ที่เป็นมาตรฐาน XML . ไม่ขึ้นอยู่กับระบบปฎิบัติการหรือภาษาใดในการท างาน . อธิบายคุณสมบัติด้วยภาษา XML ที่เป็นมาตรฐาน (WSDL) . สามารถค้นหาได้โดยวิธีการที่ง่าย (UDDI)

  21. Plate form Independence

  22. Who? How?

  23. SOAP .Simple Object Access Protocol (SOAP) .SOAP is based on XML .SOAP is platform independent .SOAP is language independent .SOAP is simple and extensible .SOAP allows you to get around firewalls .SOAP will be developed as a W3C standard

  24. WSDL • .Web Service Description Language (WSDL) • .WSDL is an XML grammar for specifying a public interface for a web • service. • .Information on all publicly available functions. • .Data type information for all XML message. • .Biding information about the specific transport protocol to be used. • .Address information for locating the specified service. • .Describing of SOAP Services

  25. SOA

  26. Why? SOA •The business drivers for a new approach –ความต้องการทางด้านธุรกิจเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาซอฟต์แวร์ในรูบแบบ ใหม่ คือ Service-Oriented Architecture ภายใต้เงื่อนไขดังนี้ •ลดต้นทุนการพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมให้มากที่สุด •ต้องมีการพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองลูกค้า •เพิ่มความสามารถการแข่งขัน และรองรับเงื่อนไขต่างทางธุรกิจ •ความหลากหลายของระบบ (Heterogeneity) –ระบบซอฟต์แวร์ในระดับ Enterprise ตัวอย่างเช่นระบบงานของหน่วยภาครัฐ ซึ่งประกอบไปด้วย ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย และแตกต่างกัน ทั้งในส่วนเทคโนโลยี ผู้ผลิต การท างาน และอายุการใช้งาน

  27. Why? SOA •การรวมระบบที่มีความแตกต่างกัน เป็นเรื่องที่ทำได้ยากและเปรียบ เหมือนฝันร้ายเลย •ไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงซอฟต์แวร์ทุกตัวให้มาจากผู้ผลิต เดียวกันได้ (Single-vendor approach) –เพราะซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม และสนับสนุนการท างานในทุกเรื่อง เป็นเรื่องที่ยากมาก •การเปลี่ยนแปลง (Change)เนื่องจากการแข่งขันในโลกของธุรกิจ ที่ ต้องอาศัยความเร็ว และการแข่งขันสูง –ลูกค้าเปลี่ยน Requirement เนื่องจากต้องการปรับ ขบวนการเพื่อกลยุทธ์ –การปรับเปลี่ยนคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ เพื่อทันต่อสถานการณ์

  28. Service Oriented Architecture (SOA) • .A style of design that guides all aspects of creating and using Business Services throughout their lifecycle. • .a way to define and provision an IT infrastructure to allow different • applications to exchange data and participate in business processes • .operating systems or programming languages • .New applications can be developed entirely, or almost entirely, by • composing existing services. • .New applications can be assembled out of a collection of existing, • reusable services.

  29. What are Services? .Bank Services .Account management (opening and closing accounts). .Loans (application processing, inquiries about terms and conditions, accepting payments). .Withdrawals, deposits, and transfers. .Foreign currency exchange.

  30. SOA Architecture

  31. SOA Architecture

  32. SOA Architecture

  33. SOA Benefits •Reuse –The ability to create services that are reusable in multiple applications. •Efficiency –The ability to quickly and easily create new services and new applications using a combination of new and old services, along with the ability to focus on the data to be shared rather than the implementation underneath.

  34. SOA Benefits •Loose technology coupling –The ability to model services independently of their execution environment and create Messages that can be sent to any service. •Division of responsibility –The ability to more easily allow business people to concentrate on business issues, technical People to concentrate on technology issues, and for both groups to collaborate using the service contract.

  35. SOA and Web Service Integration •Web services integration (WSI) –The tactical and opportunistic application of Web services to solving integration and interoperability problems. •Service-oriented integration (SOI) –Integration using Web services in the context of an SOA that is, the strategic and systematic application of Web services to solving integration and interoperability problems.

  36. Summary •SOA is a style of design that guides all aspects of creating and using business services throughout their lifecycle. And promise of –Reuse –Efficiency –Loose technology coupling –Division of responsibility •Web Services is technology to help the concept of SOA.

  37. Web2.0

  38. What is Web2.0? Web 2.0 คือการให้ความหมายของสิ่งที่เปลี่ยนไปของเทคโนโลยีเว็บไซต์ ซึ่งก็เหมือนกับที่สมัยก่อน เราเปลี่ยนจากทีวีขาวดำมาเป็นทีวีจอสีนั่นล่ะครับ โดยกำหนดตัวเลขว่าเป็น generation ที่ 2 ของเว็บนั่นเอง สิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ Web 2.0 นั้นก็ เช่น AJAX, Blog, Feeds, Podcast, Social networking ฯลฯ โดย Web 2.0 application จะคุณสมบัติดังต่อไปนี้ครับ • ให้ความสำคัญกับผู้เข้าชมเว็บไซต์ โดยที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะมีส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น ไม่ใช่แค่เข้ามาชมเว็บไซต์ที่เจ้าของเว็บจัดทำขึ้นเท่านั้น ผู้เข้าชมเว็บไซต์สามารถสร้าง content ของเว็บไซต์ขึ้นมาได้เองหรือสามารถ tag content ของเว็บไซต์ (คล้ายๆการกำหนด keyword ที่เกี่ยวข้องกับ content โดยผู้เข้าชมเว็บไซต์เป็นผู้กำหนดขึ้น) ตัวอย่างเช่น Digg, Flickr, Youtube , Wiki • Web 2.0 application จะมีคุณสมบัติที่เรียกว่า RIA (Rich Internet Application) นั่นคือ Web 2.0 application จะมี userinterface ที่ดียิ่งขึ้น เช่น คุณสมบัติ drag & drop ซึ่งเราใช้กับใน desktop application ทั่วๆไปก็สามารถใช้ได้บนเว็บเช่นกัน โดยเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการสร้าง RIA เช่น AJAX, Flash • คุณสมบัติที่เรียกว่า mash-up ก็เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนนึงของ Web 2.0 application นั่นก็คือการที่เราสร้าง Web application ขึ้นมาสักตัวนึง แล้วเราสามารถเปิด service ของ Web application ให้คนอื่นๆสามารถมาใช้ได้ ยกตัวอย่างเช่น ผมสร้าง Web application เกี่ยวกับระบบการซื้อขายสิ้นค้า online ขึ้นมาโดยผมสามารถ mash-up ระบบของผมเข้ากับ Google maps ได้อย่างง่ายดายเพื่อที่จะทำ Web application ของผมนั่นมีความสามารถในการ ซื้อขายสินค้า online แล้วยังสามารถคำนวนระยะทางและเวลาในการขนส่งสินค้าไปให้ลูกค้า รวมทั้งสามารถพิมพ์แผนที่เส้นทางได้ โดยที่ปผมไม่ต้องสร้าง Application สำหรับสร้างแผนที่ขึ้นมาเองเลย โดยเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องคือ Feeds, RSS, SOA, Web services

  39. เทคโนโลยีที่น่าสนใจสำหรับ Web 2.0 • AJAX สำหรับผมแล้วถือว่าเป็น เทคโนโลยีที่สำคัญมากๆ สำหรับ Web 2.0 application เลยทีเดียว โดย AJAX ใช้สำหรับการสร้าง userinterface ที่สามารถใช้งานได้ง่ายยิ่งขึ้นและรวดเร็วยิ่งขึ้นบนเว็บ สิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ AJAX นั้นสามารถทำงานบนทุก browser ไม่ว่าจะเป็น IE, Firefox, Opera หรือ Safari ก็ตาม ตัวอย่าง Web 2.0 application ที่นำ AJAX ไปใช้ก็เช่น Gmail, Google Docs & Spreadsheets, Google Calendarหรือ LetsProve VO • XML, Web services ใช้ในการทำให้ Web 2.0 application สามารถ integrate functional ในการทำงานร่วมกันได้ง่ายยิ่งขึ้น application ที่เราคุ้นเคยก็เช่น เราสามารถติดตามตำแหน่งงานที่เราสนใจใน Jobsdb ได้โดย RSS feeds • SaaS (Software as service) เป็น Model ใหม่สำหรับการใช้บริการ software โดยที่แต่ก่อนเราอาจจะต้องซื้อ software เป็น license แล้วนำมา install บนเครื่องเรา แล้วเมื่อถึงเวลาที่ผู้ผลิต update software เป็น version ใหม่เราก็ต้องไป download หรือซื้อ software ใน version ใหม่ และถ้าหากมีผู้ใช้ software เป็นจำนวนมากๆก็จะต้องเสียเวลาและเงินอย่างมากในการ update software แต่ละที ซึ่ง SaaS จะสามารถแก้ปัญหาในจุดนี้ได้โดยมอง software เป็นเหมือนบริการๆนึง โดยผู้ใช้บริการเพียงแค่จ่ายเงินค่าบริการ แล้วก็สามารถใช้งาน software ผ่านทาง web browser ได้ทันที เมื่อมีการ update software ก็จะทำเองอัตโนมัติโดยผู้ผลิต SaaS มีข้อดีคือ ผู้ใช้จะสามารถวางแผนงบประมาณสำหรับการซื้อ software ได้มากยิ่งขึ้น (ไม่ใช่ว่าซื้อ software มาแล้วยังต้องจ่ายค่า support, fix bug ตามมาอีก) และใช้เวลาน้อยกว่าในการ update version software แต่ละครั้ง ตัวอย่าง SaaS เช่น Google, Salesforce, Zoho

  40. It is all around the 8 Web 2.0 Principles • What is Web 2.0 ? Web 2.0 is a set of social, economic, and technology trends that collectively form the basis for the next generation of the Internet—a more mature, distinct medium characterized by user participation, openness, and network effects. (Source: O’Reilly Radar: Web 2.0 Principles and Best Practices)

  41. It is all around the 8 Web 2.0 Principles What are the Web 2.0 Principles • Harnessing Collective Intelligence • Data is the Next “Intel Inside” • Innovation in Assembly • Rich User Experiences • Software Above the Level of a Single Device • Perpetual Beta • Leveraging the Long Tail • Lightweight Models and Cost Effective Scalability

  42. Development Processes • New ICT technologies makes software development more and more complicated • To deliver quality software people learn to use tools and to work within a process improvement framework • The difficulty part is to change the behavior of software engineers; Agile development now becomes mainstream • The SEI 3-Dimensional framework for process improvement; including people and team work and adding the “How to” part in the processes • Facing problem of “Technology Silos”; need collaboration • Ultimate solution is ALM (Application Lifecycle Management); a new value chain system in a software development organization

  43. Complexity is increasing… • Software development becomes more complex • Distributed computing and SOA lead toward more componentized software; more pieces to manage • Composite applications • More reusable • New deployment methodology • More methods and processes to choose; UP, Agile processes such as XP, Scrum, etc. • More decisions to be made • Open standard, Open source, Outsourcing, process reengineering, new technologies—Web 2.0, etc. • More tools to choose—design tools, test tools, VSTS, etc.

More Related