1 / 14

การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ News Writing for Public Relations

การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ News Writing for Public Relations . บรรยายโดย สมศักดิ์ สว่างเจริญ รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์. คำจำกัดความของ “ ข่าว ”. เรื่องไม่ธรรมดา เรื่องที่ไม่คาดคิด ( คนกัดสุนัข ) เรื่องที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ทั้งหมด / คนส่วนใหญ่

phuoc
Download Presentation

การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ News Writing for Public Relations

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์News Writing for Public Relations บรรยายโดย สมศักดิ์สว่างเจริญ รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์

  2. คำจำกัดความของ“ข่าว” • เรื่องไม่ธรรมดาเรื่องที่ไม่คาดคิด (คนกัดสุนัข) • เรื่องที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งหมด / คนส่วนใหญ่ • เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในระดับโลกระดับภูมิภาค • เรื่องเกี่ยวกับภัยธรรมชาติโศกนาฏกรรม • เรื่องราวของบุคคลสำคัญที่มีความเห็นแตกต่างกันผลประโยชน์ขัดแย้งกัน • เรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเป็นที่สนใจของประชาชน

  3. องค์ประกอบของข่าว • สด / ใหม่ • ใกล้ชิด / ผลกระทบ • สำคัญ • บุคคลสำคัญ • สถานที่สำคัญ • ความขัดแย้ง • เด่น • บุคคลเด่น • สถานที่เด่น

  4. องค์ประกอบของข่าว • มีเงื่อนงำน่าสงสัย • แปลกหรือผิดไปจากธรรมดา • เรื่องราวที่เร้าใจมนุษย์ • ภัยพิบัติ / ความก้าวหน้า • เพศ

  5. แนวทางการเขียนข่าว เขียน“ข่าว”เพื่อให้คนรู้ว่าใครทำอะไรเมื่อไหร่ที่ไหนทำไมและอย่างไรโดยจะต้องเขียนข่าวเพื่อตอบคำถามเหล่านี้ให้มากที่สุด (who, what, when, where, why, how) = 5 w + 1 h

  6. โครงสร้างของข่าว ข่าว 1 ชิ้นต้องประกอบด้วย 3 ส่วนดังนี้ • พาดหัวข่าวหรือข่าวพาดหัว (Headline) ใช้กับหนังสือพิมพ์ • หัวข้อข่าวใช้กับวิทยุ/โทรทัศน์ • ความนำหรือวรรคนำหรือโปรยหัว (Lead) • เนื้อเรื่อง (Body)

  7. พาดหัวข่าว / หัวข้อข่าว วรรคนำ (Lead) ใจความสำคัญ ขยายความ 1 ขยายความ 2 เนื้อเรื่อง (Body) ขยายความ 3

  8. ตัวอย่างพาดหัว: ข่าวหนังสือพิมพ์ • “เติ้ง”เละ • 229 ชีวิตตายเรียบในโบอิ้งระเบิดบึ้ม • เสือป่าครางฮือภาพสยิวนางเอกคนดัง • ผู้ว่า“กรึ๊บ”ได้ที่รุมขยี้พลังผัก • “นิกร”อย่างหนา

  9. ตัวอย่าง: หัวข้อข่าววิทยุกระจายเสียง • นายกรัฐมนตรียืนยันจะจัดการกับกลุ่มก่อการร้ายภาคใต้อย่างเด็ดขาด • เตรียมออกกฎหมายควบคุมเครื่องเล่นสวนสนุก • พม่าจะปล่อยตัวสมาชิกพรรคฝ่ายค้านวันนี้ • วุฒิสภาจะจัดสัมมนาผลกระทบรัฐธรรมนูญ • เครื่องบินโดยสารของรัสเซียเกิดอุบัติเหตุตกเมื่อวานนี้ • ผลการแข่งขันกีฑาคนพิการชิงแชมป์โลกครั้งที่ 3

  10. คุณสมบัตินักข่าวที่ดีคุณสมบัตินักข่าวที่ดี • มีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ • เป็นนักสัมภาษณ์ที่ดี • เข้าใจความหมายของ“ข่าว” • เป็นนักเขียนที่ดี • รู้จักใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการสื่อข่าว • มีความสามารถทำงานได้หลายๆด้าน • มีไหวพริบ / มีความรู้รอบตัว • เข้าใจการดำเนินงานของสถานี, สำนักพิมพ์

  11. การใช้ภาษาข่าว / คำเชื่อม • นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าวว่า .... • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์แถลงว่า ... • อธิบดีกรมประมงชี้แจงข้อเท็จจริงว่า ... • ปลัดกระทรวงมหาดไทยเปิดเผยว่า ... • อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์กล่าวว่า ... • คณบดีคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลให้ข้อสังเกตว่า ... • คุณหญิงเต็มสิริบุญยะสิงห์ชี้ให้เห็นว่า ... • อธิบดีกรมที่ดินชี้แจงว่า ...

  12. หลักการเขียนข่าววิทยุกระจายเสียงหลักการเขียนข่าววิทยุกระจายเสียง • เที่ยงตรง • ใช้สำนวนง่ายๆ • สั้นกระทัดรัด • รักษาข้อเท็จจริง • ยุติธรรม • เพิ่มสีสันของเรื่อง

  13. หมายรับสั่ง • เป็นหมายสั่งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการพระราชพิธีเป็นการภายในตอนล่างสุดของหมายรับสั่งจะเขียนว่า“ทั้งนี้ให้จัดการตามวันตามรับสั่งอย่าให้ขาดเหลือถ้าสงสัยให้ถามผู้รับรับสั่งโดยหน้าที่ราชการ”แล้วลงชื่อผู้รับรับสั่ง ผู้สั่งคือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

  14. กำหนดการ เป็นเอกสารแจ้งกำหนดขั้นตอนของงานโดยทั่วไปที่ทางราชการหรือเอกชนจัดทำขึ้นเองแม้ว่างานนั้นๆจะเป็นงานที่เกี่ยวข้องถึงเบื้องพระยุคลบาทเช่นงานที่เสด็จพระราชดำเนินแต่ถ้างานนั้นมิได้เป็นงานพระราชพิธีซึ่งกำหนดขึ้นโดยพระบรมราชโองการแล้วเรียกว่า“กำหนดการ”ทั้งสิ้นเช่นขั้นตอนของงานสวนสนามสำแดงความสวามิภักดิ์ของทหารรักษาพระองค์ก็ใช้ว่า“กำหนดการ”เพราะงานนี้มิใช่พระราชพิธีที่มีพระบรมราชโองการให้จัดขึ้นหากแต่เป็นงานที่ทางราชการทหารจัดขึ้นเพื่อสำแดงความสวามิภักดิ์ต่อเบื้องพระยุคลบาท

More Related