1 / 27

2. ทฤษฎีนำเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ( Behavioral theories of leadership )

2. ทฤษฎีนำเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ( Behavioral theories of leadership ). คำนึงถึงตัวเองเป็นหลัก. คำนึงถึงผู้อื่นเป็นหลัก. ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้นำ ( Behavior Theory ) ของ มหาวิทยาลัยโอไฮโอ. 4.1 พฤติกรรมมุ่งงาน ( initiating structure )

Download Presentation

2. ทฤษฎีนำเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ( Behavioral theories of leadership )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2. ทฤษฎีนำเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral theories of leadership)

  2. คำนึงถึงตัวเองเป็นหลักคำนึงถึงตัวเองเป็นหลัก คำนึงถึงผู้อื่นเป็นหลัก

  3. ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้นำ (Behavior Theory) ของมหาวิทยาลัยโอไฮโอ 4.1 พฤติกรรมมุ่งงาน (initiating structure) - มุ่งความสำเร็จขององค์กรในเรื่องเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างของงานและองค์กร กำหนดคุณลักษณะของงานที่ต้องการ กำหนดบทบาทและความรับผิดชอบของผู้ร่วมองค์กร กำหนดวิธีการสื่อสาร กระบวนการและวิธีการทำงาน เป็นต้น - ลักษณะผู้นำ: ยึดความคิดตนเอง ชอบใช้อำนาจ ให้ความสำคัญกับเรื่องงานมากกว่าสิ่งใด

  4. 4.2 พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ (Considertion) - แสดงความรู้สึกไวต่อการรับรู้ต่อผู้ตาม ในแง่การให้การยอมรับ ไว้วางใจ แสดงความชื่นชม ฯลฯ - ลักษณะของผู้นำ: ให้ผู้ตามเข้ามามีส่วนร่วม มีการปรึกษาหารือ การกระจายอำนาจ ให้เกียรติให้การยกย่อง

  5. ทฤษฎีผู้นำแบบตารางบริหารของเบลคและมูตัน(Managerial Grid Theory) สูง สัมพันธ์ ต่ำ สูง งาน

  6. แบ่งผู้นำไว้เป็น 5 แบบ คือ 1.แบบเรื่องเฉื่อย หรือ 1,1 (Impoverished) 2.แบบมิตรภาพสังสรรค์ หรือ 1,9 (country club) 3.แบบเน้นงาน หรือ 9,1 (task) 4.แบบเดินสายกลาง หรือ 5,5 (middle of the road) 5.แบบทำงานเป็นทีม หรือ 9,9 (team)

  7. ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้นำกับสมาชิก(Leader-Member Exchange Theory: LMX) คนวงใน (In- group) คนวงนอก (Our- group)

  8. 3. กลุ่มทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์ (Contingency Theory) ทฤษฎีของ Fiedler ทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอเซย์และบลังชาร์ด(The situational theory,Herseyและ Blanchard 1977) ทฤษฎีวิถีทาง - เป้าหมาย

  9. ทฤษฎีของ Fiedler แบบภาวะผู้นำ : ถูกกำหนดโดยระบบแรงจูงใจของผู้นำ 2) การควบคุมสถานการณ์ขึ้นอยู่กับสามปัจจัย คือ บรรยากาศของกลุ่ม โครงสร้างของงาน และอำนาจในตำแหน่งของผู้นำ 3) ประสิทธิผลของกลุ่มขึ้นอยู่กับการจับคู่ (Matching) ที่เหมาะสม ระหว่างแบบภาวะผู้นำกับการควบคุมสถานการณ์

  10. 2) การควบคุมสถานการณ์ บุคคลไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบภาวะผู้นำของตนเองได้ แต่โมเดลของเขาจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถพิจารณาสถานการณ์ที่เป็นที่พึงพอใจมากที่สุดสำหรับรูปแบบภาวะผู้นำในสถานการณ์หนึ่งๆ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำองค์การ (Leader-member relation) หมายถึง ระดับความไว้วางใจของผู้ปฏิบัติงานในองค์การและผู้นำ โครงสร้างของงาน (Task structure) หมายถึง ความชัดเจนของเป้าหมายในการทำงาน การมีมาตรฐานที่เข้าใจ การมีระเบียบการปฏิบัติงานที่ชัดเจนง่ายขึ้น อำนาจที่ตามตำแหน่ง (Position power) หมายถึง ระดับของการให้รางวัล และการลงโทษที่ผู้นำมีอิทธิพลต่อผู้ปฏิบัติงาน

  11. 3) ประสิทธิผลของกลุ่มขึ้นอยู่กับการจับคู่ (Matching) ที่เหมาะสม ระหว่างแบบภาวะผู้นำกับการควบคุมสถานการณ์

  12. ความเหมาะสมของแบบภาวะผู้นำที่ทำให้กลุ่มมีประสิทธิผลสูงสุดขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เอื้อต่อผู้นำ 1) ในสถานการณ์ที่ต้องควบคุมมาก ผู้นำแบบมุ่งงาน (มีแอลพีซีต่ำ) จะมีประสิทธิผลสูงกว่าผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ 2) ในสถานการณ์ที่ต้องควบคุมปานกลาง ผู้นำแบบมุ่งสัมพันธ์ (หรือมีแอลพีซีสูง) จะมีประสิทธิผลสูงกว่าผู้นำแบบมุ่งงาน 3) ในสถานการณ์ที่ควบคุมน้อย ผู้นำแบบมุ่งงาน (มีแอลพีซีต่ำ) จะมีประสิทธิผลสูงกว่า ผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์

  13. ทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอเซย์และบลังชาร์ด(The situational theory,Herseyและ Blanchard 1977) ได้นำพฤติกรรมผู้นำ 2 มิติ คือ แบบมุ่งงาน และ แบบ มุ่งสัมพันธ์มาผสมผสานกัน เกิดรูปแบบผู้นำ 4 แบบ ดังรูป

  14. สูง S3 S2 คน S4 S1 ต่ำ สูง สูง วุฒิภาวะผู้ตาม M4 M3 M2 M1

  15. ทฤษฎีวิถีทาง-เป้าหมาย (Path - Goal Theory) เป็นทฤษฎีเชิงสถานการณ์ที่พัฒนาโดยเฮาส์และมิทเชลล์ (House & Mitchell, 1974) ความรับผิดชอบของผู้นำก็คือ การเพิ่มแรงจูงใจให้แก่ผู้ตามให้สามารถบรรลุได้ทั้งเป้าหมายส่วนตนและเป้าหมายขององค์การในขณะเดียวกันซึ่งผู้นำสามารถเพิ่มแรงจูงใจ แก่ผู้ตามได้ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งในสองวิธีต่อไปนี้

  16. 1) ทำให้วิถีทางที่ผู้ตามจะได้รับรางวัลตอบแทนให้มีความชัดเจน (Path clarification) ซึ่งได้แก่การที่ผู้นำทำความตกลงที่ชัดเจนกับผู้ตามเพื่อกำหนดพฤติกรรมหรือวิธีการทำงานให้สำเร็จแล้ว จะได้รับรางวัลตอบแทนจากองค์การอย่างไร 2) ใช้การเพิ่มปริมาณรางวัล (Increase rewards) ที่ผู้ตามยอมรับในคุณค่าและมีความต้องการซึ่งได้แก่ การที่ผู้นำพูดคุยกับผู้ตามเพื่อจะได้ทราบว่า รางวัลอะไรที่ผู้ตามถือว่าสำคัญแก่ตน กล่าวคือ ผู้ตามต้องการรางวัลที่เป็นแรงจูงใจภายในที่เกิดจากงานเองหรือ ต้องการรางวัลที่เป็นแรงจูงใจจากภายนอก เช่น การขึ้นเงินเดือน หรือการเลื่อนตำแหน่งหน้าที่การงานสูงขึ้น เป็นต้น

  17. องค์ประกอบต่าง ๆ ของทฤษฎีวิถีทาง – เป้าหมาย 1) พฤติกรรมผู้นำ (Leader behaviors) 2) คุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้ใต้บังคับบัญชา (Subordinate characteristics) 3) คุณลักษณะของงาน (Task characteristics) และ 4) การจูงใจ (Motivation)

  18. พฤติกรรมผู้นำ (Leader Behavior) ภาวะผู้นำแบบสนับสนุน (Supportive leadership) ภาวะผู้นำแบบสั่งการ (Directive leadership) ภาวะผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จของงาน (Achievement – oriented Leadership) ภาวะผู้นำแบบให้มีส่วนร่วม (Participative leadership)

  19. ทฤษฎีผู้นำใหม่

  20. ทฤษฎีภาวะผู้นำใหม่เชิงเสน่หา (Neocharismatic Theories) ทฤษฎีภาวะผู้นำที่มีความสามารถพิเศษ เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึง ผู้นำอีกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการได้รับการยอมรับยกย่องอย่างสูงจากลูกน้องหรือบุคคลทั่วไป เนื่องจากบุคคลผู้นั้นมีคุณสมบัติพิเศษที่เหนือกว่าคนทั่วไป มหาตมะ คานธี ผู้นำที่อุทิศตนในการต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย มาติน ลูเธอร์ คิง ผู้นำในการต่อสู้เพื่อสิทธิที่เท่าเทียมกันของมนุษย์

  21. พฤติกรรมการแสดงออกว่ายอมรับในความเป็นผู้นำ 1. มั่นใจว่า ความคิดหรือความเชื่อของผู้นำคือสิ่งที่ถูกต้อง 2. มีความเชื่อที่คล้ายกับผู้นำ 3. แสดงการยอมรับต่อผู้นำโดยปราศจากข้อสงสัยใด ๆ 4. แสดงการให้ความรักและพึงพอใจต่อผู้นำ 5. เต็มใจที่จะเคารพเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำสั่งของผู้นำ 6. พยายามลอกเลียนแบบและเอาอย่างผู้นำ 7. มีความรู้สึกร่วมกับผู้นำในการปฏิบัติภารกิจ 8. พยายามยกระดับเป้าหมายของกลุ่มหรือองค์การให้สูงขึ้น 9.รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและให้ความร่วมมือช่วยให้งานหรือองค์การบรรลุเป้าหมาย

  22. ตารางเปรียบเทียบ

  23. ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ (Transformational Leadership) กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือการแปรสภาพในตัวบุคคล โดยผู้นำจะมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงเรื่องค่านิยม คุณธรรม มาตรฐานและการมองการณ์ไกลไปในอนาคต ผู้นำเปลี่ยนสภาพจะให้ความสำคัญต่อการประเมินเพื่อทราบถึงระดับแรงจูงใจของผู้ตาม แล้วพยายามหาแนวทางตอบสนองความต้องการและปฏิบัติต่อผู้ตามด้วยคุณค่าความเป็นมนุษย์ ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพจะกว้างขวางครอบคลุมแนวคิดของภาวะผู้นำโดยเสน่หา (Charismatic leadership) ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ (Visionary leadership) รวมทั้งภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรม (Cultural leadership) ด้วย

  24. ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของแบส(Bass’s Theory of Transformational Leadership) 1) ทำให้ผู้ตามเกิดตระหนักในความสำคัญของผลงานที่เกิดขึ้น 2) โน้มน้าวจิตใจของผู้ตามให้เปลี่ยนจากการยึดในผลประโยชน์ของตนเอง มาเป็นการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมขององค์การและหมู่คณะแทน 3) กระตุ้นให้ผู้ตามยกระดับของความต้องการที่สูงขึ้นกว่าเดิม (Higher order needs) แม้ว่ากระบวนการอิทธิพลที่เกิดจากภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพจะยังไม่สามารถอธิบายได้ชัดเจนก็ตาม แต่ทฤษฎีนี้ก็เชื่อว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพจะส่งเสริมแรงจูงใจและผลงานของผู้ตามได้มากกว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน

  25. พฤติกรรมแบบเปลี่ยนสภาพ (Transformational Behaviors) พฤติกรรมแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Behaviors) การให้รางวัลตามสถานการณ์ (Contingent rewards) การบริหารแบบวางเฉยเชิงรุก (Active management by exception) การบริหารแบบวางเฉยเชิงรับ (Passive management by exception) ภาวะผู้นำแบบปล่อยตามสบาย (Laissez-faire leadership) • อิทธิพลด้านอุดมการณ์ (Idealized influence) • การมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายคน (Individualized consideration) • การจูงใจด้านแรงดลใจ (Inspirational motivation) • การกระตุ้นการใช้ปัญญา (Intellectual stimulation)

  26. ตาราง

More Related