1 / 42

บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และบรรณารักษ์ระบบ

บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และบรรณารักษ์ระบบ. บุคลกรห้องสมุด. กลุ่มบุคลากรที่มีความรู้วิชาชีพบรรณารักษ์ (Professional Librarian) กลุ่มบุคลากรที่ไม่มีความรู้วิชาชีพบรรณารักษ์ (Non-Professional Librarian). บุคลกรห้องสมุด. กลุ่มบุคลากรที่มีความรู้วิชาชีพบรรณารักษ์

oshin
Download Presentation

บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และบรรณารักษ์ระบบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศและบรรณารักษ์ระบบบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศและบรรณารักษ์ระบบ

  2. บุคลกรห้องสมุด • กลุ่มบุคลากรที่มีความรู้วิชาชีพบรรณารักษ์ (Professional Librarian) • กลุ่มบุคลากรที่ไม่มีความรู้วิชาชีพบรรณารักษ์ (Non-Professional Librarian)

  3. บุคลกรห้องสมุด • กลุ่มบุคลากรที่มีความรู้วิชาชีพบรรณารักษ์ • มีความรู้ ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ ระเบียบงาน และงานเทคนิคห้องสมุด • มีความสามารถในด้านการบริหาร และการจัดระบบงานห้องสมุด • มีความเข้าใจในทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และความต้องการของผู้ใช้ สร้างความสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นระหว่างทรัพยากรสารสนเทศและผู้ใช้บริการด้วยวิธีการต่างๆ

  4. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • กลุ่มผู้บริหาร (Managerial staff) • กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware professionals) • กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านซอฟต์แวร์ (Software professionals) • กลุ่มสนับสนุนและให้บริการ (Service/Support staff) • กลุ่มผู้รับผิดชอบงานการขายและการตลาด (Sale/Marketing staff) • กลุ่มผู้รับผิดชอบงานด้านการฝึกอบรมและการศึกษา (Training/Education) • กลุ่มผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและพัฒนา (Research and development)

  5. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านการจัดการ • ผู้อำนวยการ • ผู้จัดการ • การวางแผน การจัดองค์กร • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การสั่งการ และการควบคุม

  6. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านวิเคราะห์ระบบ • นักวิเคราะห์ระบบ • การวิเคราะห์และออกแบบระบบ รวมทั้งการติดตั้งระบบสารสนเทศในองค์กร

  7. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านการจัดการโปรแกรม • นักเขียนโปรแกรมประยุกต์ • นักเขียนโปรแกรม/นักวิเคราะห์ • การถ่ายทอดคุณลักษณะของระบบให้อยู่ในรูปแบบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  8. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านการสื่อสารข้อมูล • ผู้เชี่ยวชาญการสื่อสารข้อมูล • การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการนำฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์มาใช้ให้เกิดความสอดคล้องในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์และสถานีงาน

  9. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านการสนับสนุนด้านเทคนิค • ผู้บริหารฐานข้อมูล • นักเขียนโปรแกรมระบบ • การพัฒนาระบบ การบำรุงรักษาระบบ และการนำซอฟต์แวร์ต่างๆ เข้ามาใช้งานภายในองค์กร

  10. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านการปฏิบัติการ • ผู้ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ • เสมียนงานควบคุม • ผู้ปฏิบัติการบันทึกข้อมูล • บรรณารักษ์ • การดำเนินการให้ระบบสารสนเทศปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการควบคุมหน้าที่และรายการข้อมูลของระบบ

  11. บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ • ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบในแผนกบริการสารสนเทศ • งานด้านการศึกษา • ผู้ประสานงานด้านการศึกษา • การจัดการศึกษาต่อเนื่องสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ และการจัดฝึกอบรมให้แก่ผู้ใช้ระบบ

  12. วิชาชีพที่ต้องใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศวิชาชีพที่ต้องใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ • ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง (Chief information officer : CIO) • นักวิเคราะห์ระบบ (System analysts) • นักออกแบบระบบ (System designers) • นักพัฒนาโปรแกรม (Programmer) • ผู้บริหารระบบเครือข่าย (Network administrator) • ผู้บริหารระบบฐานข้อมูล (Database administrator)

  13. บทบาทของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างประสิทธิภาพและความพร้อมในการแข่งขันให้กับองค์กร • เข้าใจความต้องการของระบบและองค์กรในสภาพแวดล้อมยุคโลกาภิวัฒน์ • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพในการดำเนินงานทั่วทั้งองค์กร • มีส่วนร่วมในการออกแบบและการพัฒนาคุณภาพโครงสร้างระบบสารสนเทศรวมขององค์กร

  14. บทบาทของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • บริหารและตัดสินใจในการสรรหาและคัดเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม • จัดการและควบคุมผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อผู้เกี่ยวข้อง • ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงานแก่ผู้ใช้อื่นๆ • เข้าใจประเด็นสำคัญด้านจริยธรรมที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  15. บรรณารักษ์ระบบ • บรรณารักษ์ระบบ (Systems librarian) • บรรณารักษ์งานระบบอัตโนมัติ (Automated systems librarian) • บรรณารักษ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT librarian) • บรรณารักษ์งานอัตโนมัติ (Automation librarian) • เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ (Computer officer)

  16. บรรณารักษ์ระบบ • ผู้ช่วยบรรณารักษ์ระบบอัตโนมัติ (Assistant librarian automation) • ผู้ร่วมจัดระบบ (Systems coordinator) • บรรณารักษ์งานระบบสารสนเทศ (Information systems librarian) • นักวิเคราะห์ระบบห้องสมุด (Library systems analyst) • ผู้ร่วมจัดระบบอัตโนมัติ (Automated systems coordinator)

  17. บรรณารักษ์ระบบ • บุคคลที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารและจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด เช่น ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบเครือข่ายห้องสมุด ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และการจัดการด้านข้อมูลสารสนเทศ เป็นต้น

  18. หน้าที่และความรับผิดชอบของบรรณารักษ์ระบบหน้าที่และความรับผิดชอบของบรรณารักษ์ระบบ • 1. หน้าที่ด้านการบริหารและการจัดการระบบห้องสมุดอัตโนมัติ • 2. หน้าที่ด้านการบริหารฐานข้อมูล • 3. หน้าที่ด้านการพัฒนาบุคลกร • 4. หน้าที่อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

  19. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 1. คุณสมบัติด้านวุฒิการศึกษา • สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาบรรณารักษศาสตร์ (MLS) หรือสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (MLIS) หรือสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (MS) หรือสาขาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ตามลำดับ

  20. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 2. คุณสมบัติด้านความรู้ • 2.1 ความรู้เกี่ยวกับงานห้องสมุด 1. มีความรู้เกี่ยวกับปรัชญาการบริการของห้องสมุด 2. มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานห้องสมุด การปฏิบัติงานในห้องสมุด ปัญหาและข้อบกพร่องของระบบงานห้องสมุด 3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด เช่น การลงรายการ ในรูปแบบของ MARC การจัดทำรายการบรรณานุกรม การให้บริการยืม-คืน และความรู้เกี่ยวกับผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุด

  21. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 2. คุณสมบัติด้านความรู้ 2.2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานและการจัดการระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 2. มีความรู้ด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์และการวิเคราะห์ความต้องการด้านซอฟต์แวร์ 3. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีซีดี-รอม

  22. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 2. คุณสมบัติด้านความรู้ 4. มีความรู้ในการใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป เช่น โปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมตารางทำการ โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เป็นต้น 5. มีความรู้เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการฐานข้อมูล รวมทั้งความรู้ด้านการประเมินระบบปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้ การบำรุงรักษา และการพัฒนาระบบให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ 6. มีความรู้เกี่ยวกับการวางแผนและกาใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศ 7. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศ

  23. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 2. คุณสมบัติด้านความรู้ • 2.3 ความรู้อื่นๆ 1. มีความรู้ด้านการบริหารงาน การจัดการองค์กร การจัดการงบประมาณ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการแก้ไขปัญหา 2. มีความรู้ด้านหลักการจัดซื้อ และระเบียบวิธีการต่างๆ ขององค์กร 3. มีความรู้เกี่ยวกับนโยบาย และการบริหารงานของมหาวิทยาลัย

  24. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 3. คุณสมบัติด้านความสามารถ • 3.1 ความสามารถเกี่ยวกับงานห้องสมุด 1. มีความสามารถในการบริหารงานห้องสมุดให้มีความเหมาะสมตามความต้องการของผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุด และผู้ใช้บริการ 2. มีความสามารถในการวางแผนและการฝึกอบรมบรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด และผู้ใช้บริการ 3. มีความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ

  25. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 3. คุณสมบัติด้านความสามารถ • 3.2 ความสามารถเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีความสามารถในการนำเสนอประสิทธิภาพ สมรรถนะ และความน่าสนใจของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 2. มีความสามารถในการให้บริการโปรแกรมสำเร็จรูป โดยสามารถวิเคราะห์ กำหนดวัตถุประสงค์ และกำหนดรูปแบบการใช้งาน 3. มีความสามารถในการบริหาร การจัดการ การวางแผน การติดตั้ง การบำรุงรักษา และการดูแลความเกี่ยวเนื่องในการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 4. มีความสามารถในการจัดการและการใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  26. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 3. คุณสมบัติด้านความสามารถ • 3.3 ความสามารถอื่นๆ 1. มีความสามารถในการวิเคราะห์ พัฒนา และแก้ไขรูปแบบการปฏิบัติงาน หรือขั้นตอนการไหลของงาน 2. มีความสามารถในการจัดการ การวางแผน และการตัดสินใจ 3. มีความสามารถในการจัดทำรายงานและนำเสนอรายงาน 4. มีความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับบุคลากรในและนอกองค์กร

  27. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 3. คุณสมบัติด้านความสามารถ • 3.3 ความสามารถอื่นๆ 5. มีความสามารถในการเรียนรู้และการถ่ายทอดความรู้ 6. มีความสามารถในการจัดการฝึกอบรม 7. มีความสามารถในการปฏิบัติงานร่วมกับช่างเทคนิคและบุคคลอื่นๆที่ไม่ใช่ช่างเทคนิค 8. มีความสามารถในการปฏิบัติงานภายใต้ความกดดัน และการจำกัดขอบเขตด้านต่างๆ

  28. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 4. คุณสมบัติด้านประสบการณ์ • 4.1 ประสบการณ์เกี่ยวกับงานห้องสมุด 1. มีประสบการณ์การปฏิบัติงานในห้องสมุด 2. มีประสบการณ์ในการจัดการและการบริหารงานโครงการห้องสมุด 3. มีประสบการณ์ในการจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ห้องสมุด 4. มีประสบการณ์ด้านสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์

  29. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 4. คุณสมบัติด้านประสบการณ์ • 4.2 ประสบการณ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีประสบการณ์การบริหารงานและการทำงานในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และนวัตกรรมการเชื่อมประสาน 2. มีประสบการในการใช้งานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบยูนิกซ์ มาตรฐานบนระบบเครือข่าย และไมโครคอมพิวเตอร์ 3. มีประสบการณ์ด้านการวิเคราะห์ระบบ 4. มีประสบการณ์ในการเข้าถึงข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต • 4.3 ประสบการณ์อื่นๆ ได้แก่ ประสบการณ์ด้านการบริหารงานและการอำนวยโครงการ

  30. คุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบคุณสมบัติของบรรณารักษ์ระบบ • 5. คุณสมบัติด้านทักษะพิเศษ • 5.1 ทักษะพิเศษเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ทักษะในการจัดการระบบห้องสมุดอัตโนมัติ • 5.2 ทักษะอื่นๆ 1. มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2. มีทักษะในการแก้ไขปัญหา การตัดสินใจ การวางแผน การจัดระเบียบองค์กร และการอำนวยการ 3. มีทักษะในการเรียนรู้และการถ่ายทอดความรู้ 4. มีทักษะในการจัดฝึกอบรม

  31. บุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • 1. ผู้ดูแลระบบหรือผู้จัดการระบบ (System manager) 1. มีความสามารถในการจัดการที่ดี 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี 3. มีความเต็มใจและเสียสละที่จะศึกษาในรายละเอียดเหล่านี้ 4. มีความสามารถที่จะติดต่อสื่อสาร และการจัดการอย่างสูง กับผู้ใช้ระบบ 5. มีความสามารถที่จะทำงานในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างหนักแน่นมั่นคง

  32. บุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • 1. ผู้ดูแลระบบหรือผู้จัดการระบบ (System manager) • วางแผนนโยบายและขั้นตอนในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ และผู้ใช้ระบบ ไว้ในแผนงานทั้งหมดของห้องสมุด • ทำหน้าที่คัดเลือก ว่าจ้าง ฝึกอบรม และทำตารางการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ • ทำตารางการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ให้ประสานกับผู้ใช้ระบบ • สร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานที่ดีกับผู้ขายและผู้ดูแลซ่อมแซมระบบ

  33. บุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • 2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ • ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และการทำงานของอุปกรณ์นั้นๆ เป็นอย่างดี • มีความสามารถที่จะปฏิบัติตามคำสั่งและดำเนินการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและรอบคอบ • มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างสุขุม และมีประสิทธิภาพ

  34. บุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • 2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ • ดูแลงานที่ทำในลักษณะของระบบ batch และโปรแกรมอื่นๆ • เปิดและปิดระบบซอฟต์แวร์ตามตารางที่ได้กำหนดไว้ • เก็บอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องไว้ในที่ที่เหมาะสม เมื่อต้องการใช้สามารถหยิบใช้ได้ทันที • ปฏิบัติการและดูแลอุปกรณ์เกี่ยวข้องอื่นๆ • จัดทำสำรองระบบตามตารางที่กำหนดไว้ • ดูแลกิจกรรมต่างๆ ในตารางที่กำหนดไว้

  35. การพัฒนาทักษะสำหรับบรรณารักษ์ระบบการพัฒนาทักษะสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • ทักษะและความรู้ทางด้านระบบปฏิบัติการ การบริหารเครือข่าย ระบบรักษาความปลอดภัย • ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Perl, PHP, Java • ภาษาที่ใช้ในการแสดงผลของสารสนเทศ เช่น XML • Metadata มาตรฐานการลงรายการสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต • มาตรฐานทางด้านการสืบค้น เช่น Z39.50 • มาตรฐานด้านการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ เช่น ISO, ILL, NCIP

  36. การพัฒนาทักษะสำหรับบรรณารักษ์ระบบการพัฒนาทักษะสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • ซอฟต์แวร์ระบบเปิดต่างๆ เช่น Linux • แนวโน้มด้านระบบห้องสมุดห้องสมุดอัตโนมัติต่างๆ และการบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ • แนวโน้มด้านเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา • การจัดการผู้ใช้ผ่านระบบออนไลน์ • การสร้างระบบการเรียนรู้สำหรับผู้ใช้บริการ • เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุด

  37. การศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบการศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • หลักสูตรทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ • หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

  38. การศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบการศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • หลักสูตรทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  39. การศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบการศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • หลักสูตรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  40. การศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบการศึกษาต่อสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • หลักสูตรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนเรศวร • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเจ้าพระนครเหนือ • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ฯลฯ

  41. ตำแหน่งงานสำหรับบรรณารักษ์ระบบตำแหน่งงานสำหรับบรรณารักษ์ระบบ • บรรณารักษ์ • บรรณารักษ์ระบบ • บรรณารักษ์สนับสนุน (Support Librarian)

  42. บรรณารักษ์ 2.0 = Librarian 2.0 • write and post to a blog • add photos and videos to a blog post • embed a widget into blogs and social networking accounts (like Myspace) • social network knowledge - basic understanding of Facebook, Myspace, Twitter, etc • shoot, upload and edit photos • shoot, upload and edit short videos • record, edit and upload a podcast • use IM in different forms • use and explain rss and rss readers to others • send and read sms text messages • edit an avatar’s appearance • basic console gaming skills (multiple formats preferred)

More Related