320 likes | 494 Views
การบริหารทรัพยากรบุคคลแบบแยกประเภทตำแหน่ง ในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่ระบบแท่ง และผลกระทบการปฏิบัติตามประกาศ ก.พ.อ. โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร วันที่ 13 มีนาคม 2551 ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น. การปรับระบบการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือน. สร้างความเป็นมืออาชีพ
E N D
การบริหารทรัพยากรบุคคลแบบแยกประเภทตำแหน่งในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่ระบบแท่ง และผลกระทบการปฏิบัติตามประกาศ ก.พ.อ. โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร วันที่ 13 มีนาคม 2551 ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น
การปรับระบบการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือนการปรับระบบการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือน • สร้างความเป็นมืออาชีพ - จัดกลุ่มประเภทตำแหน่งเป็น 4 กลุ่ม - บัญชีเงินเดือนแบบช่วง - การขึ้นเงินเดือนเป็นเปอร์เซ็นต์ตามผลการปฏิบัติงาน • เสริมสร้างการมีส่วนร่วม • เพิ่มความคล่องตัวในการบริหารงาน • วางมาตรฐานระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.พ.
การปรับระบบการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือนการปรับระบบการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือน • การเลื่อนตำแหน่ง - ใช้ระบบเดิมไปก่อน 1 ปี - จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จัดตำแหน่งเข้าประเภทและระดับตำแหน่ง • การกำหนดตำแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือน และ เงินประจำตำแหน่งใหม่ ดังนี้ - กำหนดตำแหน่งเป็น 4 ประเภท - กำหนดบัญชีเงินเดือน 4 บัญชี - กำหนดบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่ง 4 บัญชี
กำหนดตำแหน่งไว้ 4 ประเภท ดังนี้ • ประเภทบริหาร ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ รองหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกระทรวง กรม มี 2 ระดับ ดังนี้ - ระดับต้น - ระดับสูง • ประเภทอำนวยการ ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ ต่ำกว่ากรม มี 2 ระดับ ดังนี้ - ระดับต้น - ระดับสูง
กำหนดตำแหน่งไว้ 4 ประเภท (ต่อ) • ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา มี 5 ระดับ ดังนี้ - ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการ - ระดับชำนาญการพิเศษ - ระดับเชี่ยวชาญ - ระดับทรงคุณวุฒิ
กำหนดตำแหน่งไว้ 4 ประเภท (ต่อ) • ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ประเภทบริหาร ประเภทอำนวยการ ประเภทวิชาการ มี 4 ระดับ ดังนี้ - ระดับปฏิบัติงาน - ระดับชำนาญงาน - ระดับอาวุโส - ระดับทักษะพิเศษ
บัญชีเงินเดือน - มี 4 บัญชี - กำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูง - การรับเงินเดือนกำหนดในกฎ ก.พ. • บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่ง - มี 4 บัญชี - ก.พ. วางหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการรับ เงินประจำตำแหน่ง - การรับเงินประจำตำแหน่ง กำหนดในกฎ ก.พ. • การปรับบัญชีเงินเดือนและบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่ง - ปรับไม่เกินร้อยละสิบ - ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ระดับสูง ระดับต้น โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือน ประเภทผู้บริหาร 64,340 48,700 66,480 53,690 ระดับสูง 28,550 ระดับต้น 23,230 เงินประจำตำแหน่ง บัญชีเงินเดือน ขั้นต่ำชั่วคราว
ระดับสูง ระดับต้น โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือน (ต่อ) ประเภทอำนวยการ 59,770 31,280 50,550 25,390 ระดับสูง 23,230 18,910 ระดับต้น บัญชีเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ขั้นต่ำชั่วคราว
ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือน (ต่อ) 66,480 41,720 ประเภทวิชาการ 59,770 29,900 50,550 21,080 28,550 36,020 14,330 23,230 ทรงคุณวุฒิ 22,220 7,940 เชี่ยวชาญ 18,910 12,530 ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ 6,800 ปฏิบัติการ บัญชีเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ขั้นต่ำชั่วคราว
โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือน (ต่อ) ประเภททั่วไป 9,900 59,770 48,220 ทักษะพิเศษ 47,450 15,410 เงินประจำ ตำแหน่ง 33,540 10,190 ทักษะพิเศษ 18,190 4,630 อาวุโส ชำนาญงาน บัญชีเงินเดือน ปฏิบัติงาน
สรุปผลการปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่งการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งสรุปผลการปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่งการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง
สรุปผลการปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่งการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง (ต่อ)
การปรับระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายใหม่ กฎหมายข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ได้ปรับระบบบริหารงานบุคคล มีสาระสำคัญดังนี้ • กำหนดตำแหน่งไว้ 3 ประเภท - วิชาการ - บริหาร - ทั่วไป วิชาชีพเฉพาะและเชี่ยวชาญเฉพาะ • ยกเลิกระบบซี เมื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทั้ง 3 ประเภทเสร็จ
การปรับระบบบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) • เทียบบัญชีเงินเดือนและบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือน • นายกสภาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนอธิการบดี • กำหนดการบริหารงานบุคคลพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา (พนักงานมหาวิทยาลัย) - สภาสถาบันออกข้อบังคับการบริหารงานบุคคล - มีตำแหน่ง 3 ประเภท (เช่นเดียวกับข้าราชการ) - มีอำนาจบังคับบัญชาข้าราชการ
โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา กำหนดตำแหน่งไว้ 3 ประเภท ดังนี้ • ตำแหน่งวิชาการ - ศาสตราจารย์ - รองศาสตราจารย์ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - อาจารย์ - ตำแหน่งอื่นที่ ก.พ.อ.กำหนด
กำหนดตำแหน่งไว้ 3 ประเภท ดังนี้ (ต่อ) • ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการวิทยาเขต - ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า - ตำแหน่งอื่นที่ ก.พ.อ.กำหนด
กำหนดตำแหน่งไว้ 3 ประเภท ดังนี้ (ต่อ) • ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ และ เชี่ยวชาญเฉพาะ - ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการ - ระดับเชี่ยวชาญ - ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ - ระดับอื่นตามที่ ก.พ.อ.กำหนด
การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน□ ตำแหน่งทางวิชาการ เงินประจำตำแหน่ง เงินเดือน ศ. 11 64,340 ศ. 11 ศ. 10 59,770 22,330 50,550 15,0 ศ. 9-10 รศ. 9 47,450 12,530 ศ. 9-10,11 33,540 7,940 รศ. 7-8 รศ.ระดับ 7-9 ผศ. 8 ผศ.ระดับ 6-8 ผศ.6-7 อ.ระดับ 3-7
การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน(ต่อ) □ ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร (เลขานุการคณะ กอง หรือ เทียบเท่า หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี) เงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง 50,550 22,330 ระดับ 9 47,450 18,190 33,540 15,410 ระดับ 8 ระดับ 9 ระดับ 8 ระดับ 7
การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน(ต่อ)□ ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ เงินประจำตำแหน่ง เงินเดือน 59,770 28,550 วช. ชช.10 50,550 23,230 วช. ชช.9 47,450 12,530 เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 27,500 7,940 เชี่ยวชาญระดับ 9 วช. 8 18,190 4,630 ชำนาญการ ระดับ 6,7-8 วช. 7 ปฏิบัติการระดับกลาง ปฏิบัติการระดับต้น
แนวคิดการเทียบเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งแนวคิดการเทียบเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง • เทียบเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง กับของ ก.พ.ใหม่ แต่ละประเภท • หลักการเทียบต้องได้รับเงินเดือนขั้นต่ำ หรือขั้นสูงสุด ไม่น้อยกว่าที่เคยได้รับเดิม
แนวคิดการเทียบเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งของ ก.พ. • ตำแหน่งวิชาการ - เทียบเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาการ • ตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี/สำนักงานวิทยาเขต/ ผู้อำนวยการกอง และเลขานุการคณะ หรือเทียบเท่า - เทียบเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งประเภทอำนวยการ • ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ - เทียบเงินเดือนประเภทวิชาการ และทั่วไป - เงินเดือนในระหว่างช่วงขั้นต่ำและชั้นสูงของแต่ละ ตำแหน่งเทียบประเภทวิชาการ - เงินประจำตำแหน่งเทียบประเภทวิชาการ
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. ตำแหน่งวิชาการ ก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ. ศ. 11 ทรงคุณวุฒิ ซี 10 ซี 11 ศ. 9-10 เชี่ยวชาญ รศ. 7-9 ซี 9 ชำนาญการ พิเศษ ผศ. 6-8 ซี 8 อ. 3-7 ชำนาญการ ซี 6 ซี 7 ปฏิบัติการ ( ) หมายถึง อัตราขั้นต้นชั่วคราว ซี 3-5
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. ตำแหน่งวิชาการ ก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ. ซี 11 ศ. 11 ทรงคุณวุฒิ ซี 10 ศ. 9-10 รศ. 9 ซี 9 เชี่ยวชาญ รศ.7- 8 ชำนาญการ พิเศษ ซี 8 ผศ. 8 ผศ. 6-7 ซี 7 ชำนาญการ
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. ตำแหน่งวิชาการ ก.พ.อ. ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการกอง และขานุการคณะหรือเทียบเท่า ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ก.พ. ระดับสูง ระดับ 9 ซี 9 บส ระดับ 8 ระดับต้น ซี 8 บก ระดับ 7 ( ) หมายถึง อัตราขั้นต้นชั่วคราว
การเทียบเงินประจำตำแหน่งปัจจุบันกับเงินประจำตำแหน่งใหม่ ก.พ. ตำแหน่งประเภทบริหาร ก.พ.อ. ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี เลขานุการคณะ ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ซี 9 ระดับ 9 ระดับสูง ระดับ 8 ระดับต้น ซี 8
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ ก.พ. ตำแหน่งทั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ/ทั่วป ก.พ. เชี่ยวชาญพิเศษ ทรงคุณวุฒิ ซี 10 ซี 11,ซี 10 เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ ซี 9 ซี 9 ชำนาญการ ชำนาญการ พิเศษ ซี 7-8 ซี 8 ชำนาญการ ชำนาญการ ซี 6 ซี 7 ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ ซี 3-5 ซี 3-6 ซี 1-4 ซี 1-4 ( ) หมายถึง อัตราขั้นต่ำชั่วคราว
การเทียบเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน และเงินประจำตำแหน่งใหม่ ก.พ. ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งประเภทวิชาการ เชี่ยวชาญพิเศษ ซี 11 ทรงคุณวุฒิ ซี 10 ซี 10 เชี่ยวชาญ ซี 9 เชี่ยวชาญ ซี 9 ชำนาญการ ชำนาญการ พิเศษ ซี 8 ซี 8 ชำนาญการ ซี 7 ชำนาญการ ซี 7
สรุปผลจะต้องปรับระบบการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา • ปรับหลักเกณฑ์การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งและมาตรฐาน กำหนดตำแหน่งทั้ง 3 ประเภทใหม่ • เงินเดือน - เทียบโครงสร้างบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. - ไม่มีขั้นเงินเดือน • เงินประจำตำแหน่ง - ให้ตามฐานะตำแหน่ง • ระบบการเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ • เทียบการขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การเบิกเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ค่าพาหนะเดินทาง