html5-img
1 / 29

แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ

แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ. โดย : ปาริชาต ศิวะรักษ์. วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม 2553 ณ ห้องจูปิเตอร์ ชั้น 1 อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพค เมืองทองธานี. หลักการและเหตุผลของการทบทวน บทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐ.

odell
Download Presentation

แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ โดย : ปาริชาต ศิวะรักษ์ วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม 2553 ณ ห้องจูปิเตอร์ ชั้น 1 อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพค เมืองทองธานี

  2. หลักการและเหตุผลของการทบทวนบทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐหลักการและเหตุผลของการทบทวนบทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐ เพื่อจัดวางตำแหน่งภาครัฐของไทยให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อจัดระบบความสัมพันธ์ของภาคส่วนต่างๆในการบริหารกิจการบ้านเมืองให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและสมดุล

  3. แนวคิด: พัฒนาการบทบาทภาครัฐ ศ. 16 - 18 ลัทธิพานิชย์นิยม – ภาครัฐมีบทบาทสูง ≠ Adam Smith – ควรจำกัดบทบาทภาครัฐ (ป้องกันประเทศ ระบบกฎหมาย บริการสาธารณะ) ศ. 19 การเติบโตทางเศรษฐกิจ Laissez-Faire Capitalism ปัญหาสังคม & ความไม่เป็นธรรม Welfare State และ สังคมนิยม ปลาย ศ. 19 - 1970’s ภาครัฐมีบทบาทสูง – แทรกแซงระบบตลาด/กลไกราคา • State Minimalism & small government โดย • Deregulation, Privatization, Auction etc. Market-based economy และ เสรีนิยม 1970’s – 2000’s • Public Sector Reform ในประเทศกลุ่มเวสมินสเตอร์ • และ Reinventing Government ในประเทศสหรัฐฯ 2000’s – Present Participatory Democracy การมีส่วนร่วมของภาคีต่างๆ ในสังคม (Third Sector) • Community and local authority • Volunteerism • Non-profit organization or civil society • Private sector and social enterprise

  4. ประสบการณ์ต่างประเทศ 1. แนวทางการปรับบทบาทภาครัฐ กรณีศึกษา การปรับนโยบายหรือแผนงาน บราซิล แคนาดา ยกเลิกงาน/หน่วยงานที่ไม่จำเป็น  ลดขนาดองค์กร/ลดบทบาทหน้าที่  ลดรายจ่าย มาซิโดเนีย (ลดค่าจ้างแรงงานของรัฐส่วนกลาง) การปรับปรุงประสิทธิภาพ ยกเครื่ององค์กร และกระบวนการทำงาน  ลดรายจ่าย การปรับปรุงประสิทธิภาพแผนงานที่สำคัญ นิวซีแลนด์ ปรับโครงสร้างโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญและการสั่งการจากส่วนกลาง  ลดขนาดองค์กรภาครัฐ การปรับบทบาทหน่วยงาน/องค์กร แคนาดา (Alternative Service Delivery) Latvia, UK, USA ปรับแผนงาน/ปรับลดกิจกรรมที่ซ้ำซ้อน ควบรวมหน้าที่  ลดขนาดองค์กร/เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ / หาทางเลือกใหม่ในการให้บริการสาธารณะ การยกเครื่องกระบวนการทำงานภายในองค์กร แคนาดา(Autonomous Service Unit), UK (Prior option review, market testing) ยกเลิก/เปลี่ยนแปลงกิจกรรมภายในองค์กร  ใช้ทางเลือกใหม่ในการดำเนินงาน เช่น office automation, contract-out, market testing

  5. ประสบการณ์ต่างประเทศ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์พื้นฐานของธุรกิจที่ทำอยู่ ทำให้ทราบถึงสถานะปัจจุบัน ความจำเป็น และทางเลือกในการให้บริการ โดยใช้ Public Interest Test เพื่อหาคำตอบในประเด็น ดังนี้ Case Analysis กรณีศึกษา ประเทศแคนาดา • การบริหารจัดการ • ผลลัพธ์ต่อประชาชน • การตอบสนองต่อแนวทาง citizen-centered service • การใช้จ่ายงบประมาณที่มีเหตุผล • คุณค่าของบริการ นำไปสู่การได้ทางเลือกในการให้บริการ (Alternative Service Delivery) – ใครจะเป็น ผู้ให้บริการที่เหมาะสมที่สุด และในรูปแบบใด

  6. ประสบการณ์ต่างประเทศ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ กรณีศึกษา United Kingdom การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ว่ายังมีความจำเป็นหรือไม่ หากจำเป็นจะดำเนินการในรูปแบบใด เช่น contract out การแปรรูปเป็นเอกชน Prior Option Review การวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและหาทางเลือกที่ดีที่สุดในการให้บริการ โดยพิจารณาถึงเหตุผลที่ต้องให้บริการ การเปรียบเทียบตัวชี้วัด การสอบถามจากผู้ใช้บริการ ภาคธุรกิจ และการแข่งขันที่เป็นธรรม เพื่อให้มีบริการที่มีประสิทธิภาพ Best Value Review การวิเคราะห์บริการด้านใดด้านหนึ่งภายในองค์กร เพื่อพิจารณาว่างานใดมีความจำเป็น และใครจะเป็นผู้ให้บริการที่ดีที่สุดทั้งในแง่ต้นทุนและคุณภาพ Better Quality Service Review

  7. ประสบการณ์ต่างประเทศ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ • งานนโยบาย • งานประสานงาน กำกับดูแล • และติดตาม • งานให้บริการ • งานสนันสนุน • งานกฎระเบียบ Decision Tree ทบทวนหน้าที่ในองค์กรภาครัฐ โดยจัดกลุ่มงานออกเป็น 5 กลุ่มหลัก รัสเซีย และลัตเวีย พิจารณาว่าเป็นบทบาทของรัฐหรือไม่ (Inherently governmental function) Sub-National Government Contract Out Private Sector หรือ Non-profit organization

  8. การแบ่งหน้าที่ • นโยบาย • ประสานงาน • ให้บริการ • สนับสนุน • กฎระเบียบ เป็นหน้าที่ของภาครัฐ เพราะมีความซับซ้อนและมีความอ่อนไหวทางการเมืองหรือไม่ ตัดสินใจว่าเป็นหน้าที่ที่จำเป็น ไม่ เป็น หน้าที่นี้ หน่วยงานระดับอื่นสามารถดำเนินการได้หรือไม่ ได้ ถ่ายโอน หรือ กระจายอำนาจ เป็นหน้าที่ของภาครัฐ - อยู่ภายใต้ภาครัฐส่วนกลาง ไม่ ประชาชน/ ภาคธุรกิจสามารถจ่ายค่าใช้บริการได้หรือไม่ ได้ ไม่ มี มีความเป็นไปได้ทางการตลาด หรือไม่ ภาครัฐจะมีความเสี่ยงสูงหากยุบเลิกภารกิจหรือไม่ ไม่ มี ได้ ได้ อาจมีต้นทุนที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นหรือไม่ บริการนี้สามารถว่าจ้างให้ผู้อื่นทำได้หรือไม่ ได้ รัฐทำสัญญาให้ภาคเอกชนหรือองค์กรไม่แสวงหากำไรดำเนินการแทน ไม่ Decision Tree ยุบเลิกภารกิจ ให้ภาคเอกชนหรือองค์กรไม่แสวงหากำไรดำเนินการ ไม่ได้

  9. ประสบการณ์ต่างประเทศ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ • งานนโยบาย • งานประสานงาน กำกับดูแล • และติดตาม • งานให้บริการ • งานสนันสนุน • งานกฎระเบียบ Decision Tree การทบทวนหน้าที่ในองค์กรภาครัฐ โดยจัดกลุ่มงานออกเป็น 5 กลุ่มหลัก การพิจารณาว่าเป็นบทบาทของรัฐหรือไม่ (Inherently governmental function) Sub-National Government Contract Out Private Sector หรือ Non-profit organization

  10. ประสบการณ์ต่างประเทศ 3. รูปแบบองค์กรผู้ให้บริการ ระดับการควบคุมโดยรัฐบาล (สูง) ความเป็นธุรกิจ (สูง) ภาครัฐ ภาคเอกชน ความเป็นธุรกิจ (ต่ำ) ระดับการควบคุมโดยรัฐบาล (ต่ำ)

  11. แนวคิดบทบาทภาครัฐและภาคีการพัฒนาของไทยแนวคิดบทบาทภาครัฐและภาคีการพัฒนาของไทย รธน. 50 ม. 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ม. 84 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านกฎหมายและการยุติธรรม ม. 87 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน + พรฎ. ว่าด้วยการ บริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี 46 ม. 33 – 36 การปรับปรุงและพัฒนาบทบาทภารกิจของรัฐให้เหมาะสม การสร้างเสริมภาคีการพัฒนาระหว่างรัฐกับสังคม เพื่อลดความขัดแย้ง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและสร้างประโยชน์แก่ประเทศอย่างสมดุลยั่งยืน

  12. กลยุทธ์/วิธีการ • Public Consulting/ • Public Hearing/ Referendum • Participatory Planning & • Budgeting • People’s Audit • NGO, CSO เพิ่มอำนาจประชาชน (People Empowerment) จริยธรรม/ธรรมาภิบาล จริยธรรม/ธรรมาภิบาล สมดุล ยั่งยืน ปรับเปลี่ยนภาครัฐ (State Minimalism) ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน (Market-Driven ) จริยธรรม/ธรรมาภิบาล • กลยุทธ์/วิธีการ • Public-Private Partnership • CG & CSR (ISO 26000) • Social Enterprise • กลยุทธ์/วิธีการ • Restructuring • Inter-Governmental Relations • Deregulation/Legalization • Privatization • Contestability • Purchaser/Provider Split

  13. ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค (จังหวัด กลุ่มจังหวัด) ส่วนราชการ (บริการสาธารณะทางปกครอง) ส่วนท้องถิ่น (อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา และ อปท.อื่นที่มี กม.จัดตั้ง) รัฐวิสาหกิจ ภาครัฐ องค์การของรัฐที่ทำหน้าที่กำกับดูแล เช่น กลต. ธปท. กทช. (บริการสาธารณะทางพาณิชย กรรมและอุตสาหกรรม) องค์การของรัฐที่เป็นอิสระ องค์การของรัฐที่ทำหน้าที่ให้บริการ เช่น กสช. องค์การมหาชน (บริการสาธารณะทางสังคมและวัฒนธรรม) กองทุนที่เป็นนิติบุคคล ให้บริการสาธารณะทางสังคมและวัฒนธรรม เช่น IGP หน่วยงานรัฐรูปแบบใหม่ (ไม่ใช่ 3 รูปแบบข้างต้น) หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ให้บริการสาธารณะทางพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม

  14. บทบาทภาครัฐและความสัมพันธ์กับภาคีการพัฒนา (ต่อ)  การพัฒนาระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ  การถ่ายโอนภารกิจให้ อปท.  ภารกิจที่ต้องถ่ายโอน 6 ด้าน 245 ภารกิจ  ถ่ายโอนแล้ว 181 ภารกิจ ยังไม่ถ่ายโอนอีก 63 ภารกิจ  จุดอ่อนของการกระจายอำนาจ - ความซ้ำซ้อนสับสนของโครงสร้างราชการส่วนกลาง ภูมิภาคและท้องถิ่น - การถ่ายโอนให้อปท.จัดบริการสาธารณะยังล่าช้า เช่น ความไม่พร้อมของทั้ง 2 ฝ่าย ขาดการถ่ายโอนงบประมาณและบุคลากร ฯลฯ

  15. บทบาทภาครัฐและความสัมพันธ์กับภาคีการพัฒนา (ต่อ)  การถ่ายโอนภารกิจจากภาครัฐให้ ภาคเอกชน  ถ่ายโอนงานให้ทำแทนทั้งหมด  ถ่ายโอนงานให้ทำแทน แต่รัฐกำกับดูแล  รัฐซื้อบริการจากเอกชน ในลักษณะจ้างเหมาบริการ

  16. บทบาทภาครัฐและความสัมพันธ์กับภาคีการพัฒนา (ต่อ)  การถ่ายโอนภารกิจจากภาครัฐให้ภาคประชาสังคม (NGO , CSO ฯลฯ)  ยังไม่มีตัวอย่างการถ่ายโอนเป็นรูปธรรมชัดเจน  การร่วมมือระหว่างรัฐกับภาคีนอกรัฐยังเน้น “กระบวนการ”  องค์กรรูปแบบต่างๆ อาทิ ธุรกิจเอกชน องค์กรเอกชน ไม่หวังผลกำไร องค์กรชุมชน Social Enterprise

  17. Compact เป็นข้อตกลงระหว่างรัฐบาลสหราชอาณาจักรกับภาคอาสาสมัครและชุมชน ซึ่งนำไปสู่การมอบหมายให้ “third sectorดำเนินงานบางส่วนแทนหน่วยงานภาครัฐ กลไกสำคัญคือ Office of the Third Sector Commission for the Compact Compact Voice

  18. แนวทางการวิเคราะห์บทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐแนวทางการวิเคราะห์บทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐ 1. การจัดประเภทภารกิจ 5 ประเภท  การบริหารและนโยบาย  กำกับดูแล  ส่งเสริม/สนับสนุน  ปฏิบัติการ/ให้บริการสาธารณะ  อื่นๆ

  19. ประเภทภารกิจภาครัฐ

  20. ประเภทภารกิจภาครัฐ

  21. แนวทางการวิเคราะห์บทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐแนวทางการวิเคราะห์บทบาทภารกิจหน่วยงานภาครัฐ คัดเลือกภารกิจที่มีโอกาสหรือความเป็นไปได้สูงที่จะถ่ายโอนให้ภาคส่วนอื่นดำเนินการแทน ใช้ business analysis เพื่อวิเคราะห์ว่าภารกิจดังกล่าวมีโอกาสจะถ่ายโอนให้หน่วยงานอื่นหรือไม่ อย่างไร

  22. แนวทางวิเคราะห์ Business Analysis

More Related