430 likes | 530 Views
Code of Marketing. หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 2551.
E N D
Code of Marketing หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 2551
Miriam ตั้งครรภ์ที่2 ครรภ์แรกคลอดที่โรงพยาบาลอื่น ที่โรงพยาบาลนั้น Miriam ได้รับแผ่นเอกสารที่มีสีสวยงามเกี่ยวกับการใช้นมผสม ได้คูปองลดราคานมระหว่างตั้งครรภ์นมผสม1 กระป๋องขวดนมและจุกนมคุณภาพดี เมื่อกลับบ้าน
The effect of marketing on infant feeding practices ของขวัญที่Miriamได้รับมีผลกระทบอย่างไรต่อการตัดสินใจเลือกชนิดอาหารทารก การตลาดและการส่งเสริมการขายอาหารทดแทนนมแม่ทำให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงและมีแนวโน้มลดลงทั่วโลก ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีเป้าหมายเพื่อขายผลิตภัณฑ์ จึงมีโอกาสbias สูง ทำให้หญิงตั้งครรภ์หรือแม่มีโอกาสที่จะได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไม่สามารถตัดสินใจเลือกอาหารทารกได้ถูกต้อง ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องจากครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทย์ สามารถลดความเชื่อมั่นเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในกลุ่มแม่ที่มีความรู้ดีเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ช่องทางการตลาดที่บริษัทนมใช้ช่องทางการตลาดที่บริษัทนมใช้ □ phone help lines □ posters, calendars etc. in doctors offices and hospitals □ doctor nurse ให้การรับรองว่าใช้ได้ □ free gifts □ free samples □ special offers □ educational materials □ television and radio advertising □ newspapers and magazines advertising □ bill board advertising □ promotional websites □ reduced prices □ mailings to pregnant women and mothers □ discount coupons
Mead Johnson Examples of violations gifts Nestle posters, calendars in doctors offices and hospitals Posters-clock calendars เอนฟาแลค เมจิ
Nestle Promoting brand recognition free gifts
Shelf talkers คูปองลดราคา เป็นเพียงป้ายบอกราคา? หรือเครื่องมือส่งเสริมการขาย?
International Code of Marketing of Breast Milk Substitutes • โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูกปฏิบัติตาม International Code of Marketing of Breast Milk Substitutes--> ปี 1981 World Health Assembly (WHA) โดย Member States จุดมุ่งหมายเพื่อ protect breastfeeding and to protect ทารกส่วนน้อยที่ได้รับartificial feeding . มีการทบทวนมติ( Subsequent resolutions ) ทุก2 ปีได้รับการตกลงจากWHA ซึ่งมีสถานะเท่าเทียม the original Code
ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย (1) • 2524 หลักเกณฑ์ว่าด้วยการโฆษณาและจำหน่ายอาหารทดแทนนมแม่และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง • 2527 ปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกับกลวิธี รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก • 2538 หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง • พ.ศ. 2551 – หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ความมุ่งหมาย เพื่อส่งเสริมให้ทารกได้EBF 6 เดือน และได้นมแม่ควบคู่กับอาหารเหมาะสมตามวัยจน อายุครบ 2 ปี ได้รับอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่า ทางโภชนาการอย่างเพียงพอ สอดคล้องกับการเจริญเติบโต และพัฒนาการตามวัย
การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย • การปกป้อง ส่งเสริมและ สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • หากต้องใช้ อาหารทดแทนนมแม่ ควรใช้เมื่อมีความจำเป็น • ได้รับข้อมูลเพียงพอ ถูกต้อง เหมาะสมเกี่ยวกับ การให้อาหารทารก • ควบคุมกำกับด้านการตลาดและการจำหน่ายที่เหมาะสม
หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดฯ คืออะไร (1) • คือ เครื่องมือที่มีลักษณะเฉพาะและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการปกป้องและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยการควบคุมการดำเนินการ ด้านการตลาด ของบริษัทประกอบธุรกิจอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก ซึ่งจะต้องมีการควบคุมที่แตกต่าง ไปจากธุรกิจอื่นๆ เป็นหลักเกณฑ์ขั้นต่ำ ได้รับการรับรองจากประเทศสมาชิกในสมัชชาอนามัยโลก(WHA) ในปีค.ศ.1981
หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดฯ คืออะไร เป็นเครื่องมือสำหรับ • การควบคุมการดำเนินการด้าน การตลาดที่ ขาดจรรยาบรรณ • ควบคุมการโฆษณาที่ผิดๆ หรือชักนำไปทางที่ผิด • กำหนดบทบาท หน้าที่และส่วนเกี่ยวข้องของบุคลากร ทางการแพทย์และ สาธารณสุข สถานบริการฯ และ ระบบบริการสุขภาพ • ความรับผิดชอบของรัฐบาล Codeไม่ได้ควบคุมการขายหรือการใช้ผลิตภัณฑ์
The Code ไม่ได้บังคับแม่ให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ถ้าแม่ไม่ต้องการ จุดมุ่งหมายหลักของThe Code ประกันว่าแม่ทุกคนจะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับอาหารทารกที่ถูกต้องและไม่มีอคติ • The Code ปกป้องทารกที่ได้รับนมผสมให้ได้รับอาหารทารกที่เหมาะสม ดีต่อสุขภาพของเด็ก The Code กำหนดให้ระบุคำเตือนวิธีเตรียมนมที่ถูกต้องและปลอดภัย • The Code กำหนดการผลิตให้ได้คุณภาพและปลอดภัย
ในระดับโลกมีสถานะเป็น “ recommendation” • เป็นมาตรฐานขั้นต่ำ • ประเทศสมาชิกที่นำไปจัดทำ จะต้องนำข้อกำหนดทั้งหมดไปใช้ และอาจเสริมกฎเกณฑ์ต่างๆเพิ่มเติมเพื่อให้ Code มีความเข้มแข็งขึ้น สำหรับประเทศไทย Code เป็นแค่หลักเกณฑ์ ไม่ใช่กฎหมาย
หมวด 1 : ความมุ่งหมาย หมวด 2 : ขอบเขต หมวด 3 : นิยาม หมวด 4 : การให้ข้อมูลข่าวสารและการให้ความรู้ หมวด 5 : แม่และประชาชน หมวด 6 : ระบบบริการสุขภาพ หมวด 7 : บุคลากรทางการทางการแพทย์และสาธารณสุข หมวด 8 : พนักงานของผู้ผลิต ผู้นำเข้าและผู้จำหน่าย หมวด 9 : ฉลาก หมวด 10 : คุณภาพ หมวด 11 : การนำสู่ปฏิบัติและกำกับติดตาม ข้อกำหนดของหลักเกณฑ์นานาชาติ
ผลิตภัณฑ์ในขอบเขตของCODEผลิตภัณฑ์ในขอบเขตของCODE ก. อาหารทดแทนนมแม่ • นมดัดแปลงสำหรับทารก อาหารทารก • นมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็กเล็ก อาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็กเล็ก • อาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก • อาหารอื่นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับทารก
ผลิตภัณฑ์ในขอบเขตของCODEผลิตภัณฑ์ในขอบเขตของCODE ข. ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง - ภาชนะบรรจุขวดนมจุกนมยาง หัวนมหลอก และอุปกรณ์ที่ใช้หรือ มีความมุ่งหมายที่จะใช้กับสิ่งดังกล่าว ค. ผลิตภัณฑ์อื่นๆที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
The Code : - ไม่ห้ามการผลิตหรือการจำหน่ายอาหารทดแทนนมแม่ - ไม่มีผลกระทบต่อการใช้อาหารเสริมอย่างเหมาะสมตามวัยหลังทารกอายุ 6 เดือน
การให้ข้อมูลของผลิตภัณฑ์การให้ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ • ผลิตภัณฑ์ต้องระบุประโยชน์และคุณค่าที่เหนือกว่าของ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ควรใช้เมื่อบุคลากรทางการแพทย์แนะนำ ควรต้องมีคำเตือนถึงอันตรายของนมผสมถ้าใช้ไม่ถูกต้อง ต้องไม่มีรูปทารกหรือรูปอื่นๆ ข้อความที่ชักจูงให้ อยากใช้อาหารทดแทนนมแม่
ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ ข้อมูลส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ที่ให้แก่แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ และ วิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นวิทยาศาสตร์และเป็นความจริง ไม่ใช่ใช้เป็นสื่อส่งเสริมการตลาด และข้อมูลของผลิตภัณฑ์ไม่ควรแจกให้แก่หญิงตั้งครรภ์มารดา
สื่อและเอกสารเกี่ยวกับการให้อาหารทารกที่ให้แก่มารดาต้องระบุ สื่อและเอกสารเกี่ยวกับการให้อาหารทารกที่ให้แก่มารดาต้องระบุ • ความสำคัญของการให้นมแม่ • ผลกระทบต่อสุขภาพเมื่อใช้bottle-feeding • ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ • ความยากลำบากในการกลับมาให้นมแม่อีกหลังจากตัดสินใจเลิกให้นมแม่
ตัวอย่างอาหารทดแทนนมแม่และการจัดหาตัวอย่างอาหารทดแทนนมแม่และการจัดหา • ห้ามใช้สถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขเป็นที่ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์รวมทั้งห้ามการบริจาคสินค้าฟรี หรือการจำหน่ายในราคาถูกทารกที่จำเป็นต้องใช้นมผสมมีจำนวนน้อยและใช้ในปริมาณน้อย ดังนั้น นมผสมที่จำเป็นต้องให้กับทารกซึ่งมีจำนวนน้อยจึงควรได้มาในวิถีทางที่ไม่ขัดขวางการปกป้องและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกจำนวนมาก ต้องซื้อตามปกติไม่ได้รับมาด้วยการบริจาคหรือซื้อมาในราคาถูก • ห้ามแจกจ่ายตัวอย่างอาหารทดแทนนมแม่ ของขวัญและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องแก่หญิงตั้งครรภ์ แม่ และสมาชิกอื่น ในครอบครัว ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ตัวอย่างอาหารทดแทนนมแม่และการจัดหาตัวอย่างอาหารทดแทนนมแม่และการจัดหา • รัฐบาลอาจแจกนมผสมหรือขายให้แม่ในราคาถูก เพื่อเป็นสวัสดิการสังคมได้ เช่นแม่ที่HIV-positive แต่ต้องจัดหาให้เพียงพอแก่ความต้องการของทารก • นมที่ทารกได้รับไม่ควรเป็นนมบริจาคเพราะผู้บริจาคอาจหยุดบริจาคนมเมื่อใดก็ได้ ทารกที่ไม่ได้กินนมแม่ ต้องการนมผสมมากถึง20 kg ในช่วงอายุ6 เดือนแรกและต้องมีเพียงพอจนอายุ 2 ปี • ผลิตภัณฑ์ต้องมีhigh quality จัดเก็บอย่างเหมาะสมตามสภาพภูมิอากาศของแต่ละประเทศ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุ
ช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพ HEALTH SYSTEM MARKETING CHECK LIST □ Free samples □ Free supplies to hospitals and to individual health professionals □ Small gifts เช่น pens, prescription pads, growth charts, calendars,posters and less expensive medical equipment □ Large gifts เช่น incubators, machines, fridges, air conditioners,computers □ Gifts of professional services เช่น architectural design of hospitals, organisation of events □ Personal gifts เช่น holiday trips, electrical goods, meals, and entertainment
ช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพ HEALTH SYSTEM MARKETING CHECK LIST □ Sponsorship of hospitals, clinics, health worker associations □ Funding of research grants and salaries □ Support to attend professional events and for professional associations □ Financial sponsorship of students และมีผู้แทนนมอยู่ด้วยขณะฝึกอบรมซึ่งรวมถึงการสอนเรื่อง infant feeding coursesโดยใช้ของจริง □ Sponsorship of conferences, seminars andสิ่งพิมพ์
ช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพ HEALTH SYSTEM MARKETING CHECK LIST □ Advertisements in journals and similar publications, ที่มองดูเหมือนการให้ข้อมูลผลิตภัณฑ์แต่จุดประสงค์ที่แท้จริงคือการโฆษณา □ Research reports ที่ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างเด่นชัด □สร้างFriendly relations กับ health workersให้เกิดความรู้สึกที่ดี เช่น ส่งcards, ซื้อขนมหรืออาหารมาฝากเจ้าหน้าที่ □สร้างClose relationships กับบุคลากรกระทรวงสาธารณสุข □ผู้แทนผลิตภัณฑ์เยี่ยมแพทย์ที่ทำ private practice, health institutions and ministries
บทบาทบุคลากรทางการแพทย์ : บุคลากรทางการแพทย์ช่วยปกป้องทารกและแม่จากการดำเนินการด้านการตลาดของบริษัทนมผสมได้โดย - Remove posters that advertise formula, teas, juices or baby cereal, advertise bottles and teats และไม่รับ new posters. - ไม่รับ free gifts จากบริษัท - ไม่อนุญาตให้แจก free samples, gifts, or leaflets แก่แม่ - ไม่ให้จัด antenatal group teaching เรื่องformula preparation แก่ pregnant women ห้าม staff ของบริษัทนมสอน
บทบาทบุคลากรทางการแพทย์ : - สอนวิธีการใช้นมผสมในทารกที่มีความจำเป็นต้องใช้จริงๆ และต้องสอนในที่เฉพาะ - ช่วยการรายงานการฝ่าฝืนthe Code (and/or local laws) ไปสู่หน่วยงานที่มีอำนาจจัดการได้ - รับได้เฉพาะproduct information จากบริษัทซึ่งข้อมูลเหล่านั้นต้องเป็นวิทยาศาสตร์และเป็นความจริงไม่ใช่การโฆษณาผลิตภัณฑ์ โรงพยาบาลต้องปฏิบัติตามthe International Code และมติต่อมาของสมัชชาอนามัยโลกเพื่อประเมินเป็นbaby-friendly.
การบริจาคนมผสมในสถานการณ์ฉุกเฉินการบริจาคนมผสมในสถานการณ์ฉุกเฉิน • ในสถานการณ์ฉุกเฉินน้ำสะอาดและเชื้อเพลิงหาได้ยาก ในการเตรียมนมผสมอย่างปลอดภัย • การใช้นมผสมในสถานการณ์ฉุกเฉินเพิ่มความเสี่ยงต่อmalnutrition, disease, and death. • เด็กเล็กที่ไม่ได้กินนมแม่ไม่ได้รับภูมิคุ้มกันจากนมแม่ทำให้เสี่ยงต่อ infection and illness. • ในสถานการณ์ฉุกเฉินการบริจาค infant formula, foods และขวดนม มาจากหลายแหล่งด้วยเจตนาที่ดีสื่อมวลชนให้ข้อมูลที่ทำให้ผู้บริจาคเชื่อว่าแม่ไม่สามารถให้นมแม่ได้ในภาวะวิกฤต
การบริจาคนมผสมในสถานการณ์ฉุกเฉินการบริจาคนมผสมในสถานการณ์ฉุกเฉิน ควรปฏิเสธการรับบริจาคนมผสมเพราะส่งผลให้เกิด: - ได้รับบริจาคinfant formula มามากๆ ทำให้ทารกที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้formula ได้รับไปด้วย มีปัญหาการจัดเก็บ เกิดขยะที่มากเกินไปจากกระป๋องนมและการบรรจุหีบห่อ - Advertising brands, ทำให้แม่คิดว่าเป็น recommended brands. - การบริจาคนมที่หมดอายุหรือได้รับสูตรนมที่ไม่เหมาะสมทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการใช้ ปัญหาอื่นที่อาจเกิดขึ้นได้ : - ไม่ได้แปลวิธีการเตรียมนมเป็นภาษาท้องถิ่นทำให้ใช้ไม่ถูกต้อง - มีการใช้Bottles and teats , cup feeding ในสถานการณ์ฉุกเฉิน
อันตรายอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับนมบริจาคที่มากเกินไปในสถานการณ์ฉุกเฉินอันตรายอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับนมบริจาคที่มากเกินไปในสถานการณ์ฉุกเฉิน ถ้าการจัดหาinfant formula มีมากและหาได้ง่ายควบคุมไม่ได้ทำให้แม่ลดความเชื่อมั่นในการให้นมแม่และใช้นมผสมอย่างไม่มีเหตุผล ทำให้ทารกและครอบครัวหันไปใช้นมผสม ถ้านมบริจาคมีไม่แน่นอน. ทารกก็จะมีความเสี่ยงต่อ malnutrition และความเจ็บป่วยต่างๆมากขึ้น
อันตรายอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับนมบริจาคที่มากเกินไปในสถานการณ์ฉุกเฉินอันตรายอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับนมบริจาคที่มากเกินไปในสถานการณ์ฉุกเฉิน การบริจาคนมผสมจำนวนมาก มาจากบริษัทนม ซึ่งบริจาคให้ประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤต บริษัทมีความตั้งใจที่จะเปิดตลาดใหม่มากกว่าการขายนมผสมให้กับประชาชน ถ้าหลีกเลี่ยงการบริจาคไม่ได้ให้เอานมที่ได้รับไปประกอบอาหารทำโจ๊กให้เด็กโตหรือบุคคลอื่น หรือใช้เป็นเครื่องมือ เพื่อทำให้น้ำนมกลับคืนมา (relactation)
How to response to marketing practice ปุจฉา • ผู้แทนนมไปเยี่ยมนักโภชนาการที่สถาบันฟื้นฟูโภชนาการเพื่อส่งเสริมการใช้นมผสมที่เพิ่งปรับสูตรใหม่ ผู้แทนกล่าวว่านมชนิดนี้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับทารกที่มีภาวะทุโภชนาการ เขายินดีสนับสนุนนมฟรีให้แม่2-3 กระป๋อง • ถ้านักโภชนาการปฏิบัติตามCODE เขาจะตอบสนองอย่างไร? ขยันหมั่นเพียร
วิสัชชนา • ปฏิเสธการรับนมฟรี • ชี้แจงว่าทารกกลุ่มนี้ควรได้รับนมแม่ • ถามกลับว่าอะไรจะเกิดขึ้น เมื่อนมฟรี 2-3 กระป๋องแรกหมดไป
ปุจฉา • แจมมี่เปิดสำนักงานผดุงครรภ์ส่วนตัว ดูแลสุขภาพแม่และลูก เจนนี่เป็นเพื่อนสนิทของเธอ ทำงานที่บริษัทนมผสม เจนนี่มาเสนอ โปสเตอร์ แผ่นพับ เกี่ยวกับนมแม่และนมผสมและยินดีให้นมผสมแก่สำนักงานของแจมมี่ • แจมมี่จะพูดกับเพื่อนอย่างไรดี? เจริญก้าวหน้า
วิสัชชนา • อธิบายให้เพื่อนฟังว่านมแม่มีความสำคัญต่อสุขภาพของทารกและแม่ • โปสเตอร์ เอกสารแนะนำ นมฟรี มีผลลดความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ถ้าแม่ตัดสินใจหยุดการให้นมแม่แล้ว การให้นมฟรีก็จะสิ้นสุดลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน • แม่ทุกคนควรได้รับข้อมูล คำแนะนำ สอบถามข้อสงสัยเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมสำหรับทารก จากเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ ดังนั้นโปสเตอร์ เอกสารแนะนำ นมฟรี จึงไม่มีความจำเป็น
ปุจฉา • แซมเป็นกุมารแพทย์ที่สนใจเรื่องโภชนาการทารก บริษัทนมผสมเสนอให้ทุนแก่แซม ไปร่วมประชุมวิชาการที่บริษัทจัดขึ้นที่โรงแรม บริษัทอำนวยความสะดวกในเรื่องที่พัก ค่าพาหนะเดินทางและทุกอย่าง • ถ้าแซมรับทุนนี้อะไรจะเกิดขึ้น? อายุยืนเจริญด้วยลาภยศ
วิสัชชนา • แซมควรคิดให้รอบคอบก่อนรับข้อเสนอ จากการประชุมแซมอาจได้รับข้อมูลที่เป็นวิทยาศาสตร์และเป็นความจริง หรืออาจเป็นข้อมูลเพื่อการส่งเสริมการขาย การโฆษณาผลิตภัณฑ์ของบริษัท • จะมีของขวัญ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่สงเสริมการขาย แจกให้หรือไม่ • แซมจะปฏิเสธหรือรับของเหล่านั้น หรือจะนำกลับมาที่ทำงาน • ผู้แทนนมอาจมาเยี่ยมแซม หลังจบการประชุม คาดเดาได้ว่าเขาคงจะให้แซมช่วยใช้นมผสมในสถานบริการสุขภาพ เพราะเขาได้ช่วยให้แซมไปประชุม
หมวด 7 ของ CODE กล่าวว่า บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จะต้อง protect , promote & support BF เข้าใจ Code อย่างถูกต้อง & นำไปปฏิบัติและใช้ประโยชน์ได้ ห้ามสนับสนุนการเงินและสิ่งของต่างๆ แก่HCWS และ ครอบครัว บุคลากรHCWs และครอบครัว ต้องไม่รับการสนับสนุนด้วย
ต้องเปิดเผย การสนับสนุน ที่ให้แก่HCWs การศึกษา อบรม การดูงาน กองทุนการศึกษาวิจัย และ การประชุมวิชาการ(ซึ่งรวมถึงเงินค่าเครื่องบิน ที่พัก วัสดุสิ่งของและอาหาร) รายการอื่นๆที่ให้ถือได้ว่าเป็นของขวัญ ซึ่งถูกพิจารณาให้เป็น “สิ่งจูงใจ” รวมถึงสถาบันที่ผู้รับการสนับสนุนปฏิบัติงาน และ ผู้ได้รับการสนับสนุน ต้องเปิดเผยข้อมูลการสนับสนุนนี้ด้วยและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
Knowledge Check - mark the answer True (T) or False (F) • การให้เอกสารเกี่ยวกับอาหารทดแทนนมแม่ที่ผลิตจากบริษัทนม • สามารถส่งผลกระทบถึงการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ T F • 2. Breast-milk substitutes include formula, teas, and juices (as well as T F • other products) • 3. The International Code and BFHI ห้ามการใช้นมผสมในwardหลังคลอด T F • 4.บุคลากรสามารถรับเอกสารสิ่งพิมพ์หรือสิ่งของจากบริษัทนม • ได้ ถ้าไม่มีการส่งต่อสิ่งต่างๆเหล่านั้นไปให้แม่ T F • 5.การบริจาคนมผสมให้แม่สามารถทำได้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน T F
มีเงินมีทองเหลือใช้ทุกปีมีเงินมีทองเหลือใช้ทุกปี