290 likes | 1.36k Views
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์. เนื้อหาสาระ. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว. โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์. จุดประสงค์การเรียนรู้.
E N D
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
เนื้อหาสาระ • การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • สืบค้นข้อมูล สำรวจตวรจสอบและอธิบายการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
สาระสำคัญ • สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน เกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกาย และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
1. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
จากการศึกษาองค์ประกอบของเซลล์ที่ผ่านมานั้น เราทราบแล้วว่า ภายในไซโทพลาซึม นั้นมีไซโทสเกเลตอน ที่ทำหน้าที่เป็นทั้งโครงร่างค้ำจุนให้เซลล์คงรูปอยู่ได้ และทำให้เกิด การเคลื่อนไหวภายในเซลล์ ซึ่งในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจะมีไซโทสเกเลตอนเป็นโครงร่างค้ำจุน และช่วยในการเคลื่อนที่เช่นกัน โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
โครงร่างค้ำจุนนี้จะช่วยในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้อย่างไรโครงร่างค้ำจุนนี้จะช่วยในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้อย่างไร โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของอะมีบาการเคลื่อนที่ของอะมีบา อะมีบาเป็นสิ่งมีชีวิต ไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ โดยเฉพาะ แต่จะเคลื่อนที่โดยการไหลของ ไซโทพลาซึม เป็น เท้าเทียม(pseudopodium) โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของอะมีบา (ต่อ) เซลล์อะมีบา มีไซโทพลาซึม (cytoplasm) แบ่งได้ 2 ส่วน 1.ectoplasm เป็นไซโทพลาซึมชั้นนอก มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) 2. endoplasm เป็นไซโทพลาซึมชั้นใน มีลักษณะเป็นสารค่อนข้างเหลวกว่า เรียกว่า โซล (sol) ภาพที่1.1 แสดงการเคลื่อนที่ของอะมีบา ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของไซโทพลาซึม โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของอะมีบา (ต่อ) ไซโทพลาซึมของอะมีบานี้ มีสมบัติเปลี่ยนจากเจลเป็นโซล และเปลี่ยนจากโซลเป็นเจล ได้เนื่องจากการรวมตัวและแยกตัวของโปรตีนแอกทิน ทำให้เกิดการไหลของไซโทพลาซึม ไปในทิศทางที่เซลล์จะเคลื่อนที่ไปและดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออก เป็น ภาพที่ 1.1 การเคลื่อนที่ของอะมีบา ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของไซโทพลาซึม เท้าเทียมจากนั้นไซโทพลาซึมทั้งเซลล์จะเคลื่อนตามไปทิศทางเดียวกับเท้าเทียม ทำให้อะมีบาเคลื่อนที่ได้ เรียกการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoeboid movement) โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
2. การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของหมึก หมึกเคลื่อนที่ได้โดยอาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลำตัว ทำให้น้ำภายในลำตัวพ่นออกมาทางท่อไซฟ่อน(siphon) ซึ่งเป็นท่อสำหรับพ่นน้ำออกมาดันให้ลำตัวหมึกเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงข้ามของน้ำที่พ่นออกมา โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของดาวทะเลการเคลื่อนที่ของดาวทะเล ดาวทะเล เคลื่อนที่โดยอาศัยแรงดันของน้ำภายนอกร่างกาย ซึ่งดาวทะเลจะมีระบบท่อที่ประกอบด้วย มาดรีโพไรต์(madreporite) และแอมพูลา (ampulla) ที่มีลักษณะเป็นกระเปาะ โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของดาวทะเล (ต่อ) มีกลไกการเคลื่อนที่ คือ เมื่อน้ำทะเลเข้ามาทางมาดรีโพไรต์จนถึงแอมพูลา กล้ามเนื้อแอมพูลลาจะหดตัวดันน้ำไปยังทิวป์ฟีท ทำให้ทิวป์ฟีทยืดยาวไปแตะพื้นใต้น้ำ ขณะเดียวกันลิ้นที่แอมพูลาจะปิดกั้นไม่ให้น้ำไหลกลับออกไปทางท่อด้านข้าง โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของดาวทะเล (ต่อ) มีกลไกการเคลื่อนที่ คือ จากนั้นกล้ามเนื้อของทิวป์ฟีทจะหดตัวทำให้ทิวป์ฟีทสั้นลง ดันน้ำกลับไปที่แอมพูลาตามเดิม การยืดและหดของทิวป์ฟีท หลายครั้งต่อเนื่องทำให้ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้ นอกจากนี้ ปลายสุดของทิวป์ฟีทมีแผ่นดูด ช่วยยึดเกาะกับพื้นผิวทำให้เคลื่อนที่ได้ดี โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของไส้เดือนดินการเคลื่อนที่ของไส้เดือนดิน ไส้เดือนดินมีกล้ามเนื้อ 2 ชุด คือ กล้ามเนื้อตามวง และ กล้ามเนื้อตามยาว ซึ่งกล้ามเนื้อทั้งสองชุดนี้ทำงานตรงข้ามกัน คือเมื่อกล้ามเนื้อตามวงหดตัวกล้ามเนื้อตามยาวจะคลายตัว การเคลื่อนที่แบบนี้ว่า สภาวะตรงกันข้าม (antagonism) โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของไส้เดือนดินการเคลื่อนที่ของไส้เดือนดิน ไส้เดือนดินมีกล้ามเนื้อ 2 ชุด คือ กล้ามเนื้อตามวง และ กล้ามเนื้อตามยาว ในการเคลื่อนที่กล้ามเนื้อทั้งสองชุดนี้ทำงานตรงข้ามกัน เมื่อกล้ามเนื้อตามวงหดตัว กล้ามเนื้อตามยาวจะคลายตัวสลับกันอย่างต่อเนื่อง และจะมีเดือยที่ผนังลำตัวช่วยจิกดินไว้ ทำให้เคลื่อนที่ได้ดีขึ้น โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
การเคลื่อนที่ของไส้เดือนดินการเคลื่อนที่ของไส้เดือนดิน ไส้เดือนดินมีกล้ามเนื้อ 2 ชุด คือ กล้ามเนื้อตามวง และ กล้ามเนื้อตามยาว ในการเคลื่อนที่กล้ามเนื้อทั้งสองชุดนี้ทำงานตรงข้ามกัน เมื่อกล้ามเนื้อตามวงหดตัว กล้ามเนื้อตามยาวจะคลายตัวสลับกันอย่างต่อเนื่อง และจะมีเดือยที่ผนังลำตัวช่วยจิกดินไว้ ทำให้เคลื่อนที่ได้ดีขึ้น โดย นางจำลองลักษณ์ ดวงประสาท ร.ร.ลำดวนพิทยาคม จ.บุรีรัมย์
เซลล์อะมีบา มีไซโทพลาซึม (cytoplasm) แบ่งได้ 2 ส่วนคือectoplasmและendoplasm ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
20 อะมีบาเคลื่อนที่ได้อย่างไร การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อลำตัว การไหลของไซโทพลาซึม การพ่อนน้ำของไซฟ่อน การหดตัวของกล้ามเนื้อขอบกระดิ่ง
ไส้เดือนดินมีกล้ามเนื้อ......ชุดไส้เดือนดินมีกล้ามเนื้อ......ชุด <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.>
จับคู่ที่มีความสัมพันธ์กันจับคู่ที่มีความสัมพันธ์กัน ท่อน้ำ ท่อด้านข้าง ทิวบ์ฟิทหดตัว
จับคู่ที่มีความสัมพันธ์กันจับคู่ที่มีความสัมพันธ์กัน เคลื่อนที่โดยการไหลของไซโทพลาซึม เป็น เท้าเทียม(pseudopodium) อาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลำตัว ทำให้น้ำภายในลำตัวพ่นออกมาทางท่อไซฟ่อน(siphon) แรงดันของน้ำภายนอกร่างกาย ระบบท่อที่ประกอบด้วย มาดรีโพไรต์ (madreporite) และแอมพูลา (ampulla)
ต่อภาพที่กำหนดให้อยู่ในกลุ่มเดี่ยวกันต่อภาพที่กำหนดให้อยู่ในกลุ่มเดี่ยวกัน ทิวป์ฟีทสั้นลง ทิวป์ฟีทยืดยาว ทิวป์ฟีทหดตัว แอมพูลลาหดตัว