1 / 65

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น ( waves )

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น ( waves ). วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6. คลื่น ( waves ). 1. คลื่น ( waves ) 2. สมบัติของคลื่น ( property of waves ) 3. คลื่นเสียง ( sound waves ) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ( electromagnetic ). 3. คลื่นเสียง ( sound waves ). ผลการเรียนรู้.

netis
Download Presentation

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น ( waves )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3เรื่อง คลื่น (waves) วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

  2. คลื่น (waves) • 1. คลื่น (waves) • 2. สมบัติของคลื่น (property of waves) • 3. คลื่นเสียง (sound waves) • 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic)

  3. 3. คลื่นเสียง (sound waves)

  4. ผลการเรียนรู้ • 1. อธิบายความหมายและการเกิดคลื่นเสียงได้ • 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจัดและคลื่นความดันได้ • 3. คำนวณหาอัตราเร็วของคลื่นเสียงในตัวกลางต่าง ๆ ได้ • 4. อธิบายสมบัติของคลื่นเสียงได้ • 5. บอกเงื่อนไขของการได้ยินคลื่นเสียงได้ • 6. คำนวณหาพลังงาน กำลัง ความเข้ม และระดับความเข้มของคลื่นเสียงได้ • 7. อธิบายมลภาวะของคลื่นเสียงได้ • 8. อธิบายการเกิดบีตส์ ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์และคลื่นกระแทกได้

  5. 3. คลื่นเสียง (sound waves) • 1. คลื่นเสียง • 2. คลื่นการกระจัดและคลื่นความดัน • 3. อัตราเร็วเสียง • 4. สมบัติของคลื่นเสียง • 4.1 การสะท้อนของคลื่นเสียง • 4.2 การหักเหของคลื่นเสียง • 4.3 การแทรกสอดของคลื่นเสียง • 4.4 การสั่นพ้อง • 4.5 การเลี้ยวเบนของคลื่นเสียง • 5. คลื่นเสียงกับการได้ยิน • 5.1 หูคนและกลไกลการได้ยิน • 5.2 ความเข้มและความดังของเสียง • 6. การเกิดบีตส์ • 7. ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ • 8. คลื่นกระแทก

  6. 1. คลื่นเสียง (Sound waves) • คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือน เช่น • เคาะส้อมเสียง • ตีกลอง • ตีระฆัง http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l4c.html

  7. 2. คลื่นการกระจัดและคลื่นความดัน • ไม่มีคลื่นเสียงผ่านเข้ามาในตัวกลาง โมเลกุลของตัวกลางจะอยู่นิ่ง และมีระยะห่างระหว่างโมเลกุลเท่า ๆ กัน • ขณะที่เสียงผ่านตัวกลาง ทำให้โมเลกุลของตัวกลางนั้นสั่นในแนวขนานกับความเร็วเสียง • ถ้ากำหนดให้ • โมเลกุลสั่นไปทางขวามีการกระจัด = + y • โมเลกุลสั่นไปทางซ้ายมีการกระจัด = - y

  8. 2. คลื่นการกระจัดและคลื่นความดัน • กราฟการกระนัดของโมเลกุล เรียกว่า คลื่นการกระจัด • บริเวณที่โมเลกุลสั่นเข้าหากัน เรียกว่า ส่วนอัด (compression) • บริเวณที่โมเลกุลสั่นหนีจากกัน เรียกว่า ส่วนขยาย (rarefaction) • ระยะระหว่างส่วนขยาย-ส่วนขยาย = ระยะระหว่างส่วนอัด-ส่วนอัด = ความยาวคลื่น = λ http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.html

  9. http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.htmlhttp://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.html

  10. http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.htmlhttp://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.html

  11. http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.htmlhttp://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.html

  12. http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.htmlhttp://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l1c.html

  13. 3. อัตราเร็วเสียง • อัตราเร็วเสียงในตัวกลางไม่เท่ากัน • สมการคำนวณหาอัตราเร็วเสียงในอากาศได้ V = 331 + 0.6t = fλ • เมื่อ V คือ อัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ t 0C มีหน่วยเป็น m/s • t คือ อัตราอุณหภูมิของอากาศ มีหน่วยเป็น 0C • f คือ ความถี่เสียง มีหน่วยเป็น Hz • λ คือ ความยาวคลื่นเสียง มีหน่วยเป็น m

  14. อัตราเร็วเสียงในตัวกลางอัตราเร็วเสียงในตัวกลาง • v solids > v liquids > v gases • v = 331 m/s + (0.6 m/s/C)*T

  15. แบบฝึกหัด (น. 183) • 1. จงหาอัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ 15 0C (340m/s) • 2. จงหาอัตราเร็วของส่วนอัด และอัตราเร็วของส่วนขยาย เมื่อคลื่นเสียงมีความถี่ 1,000 Hz และมีความยาวคลื่น 0.4 m(400m/s) • 3. จงหาความถี่ของเสียงกระดิ่งในอากาศที่อุณหภูมิ 15 0C เมื่อเสียงมีความยาวคลื่น 2 m (170Hz)

  16. 4. สมบัติของคลื่นเสียง • 4.1 การสะท้อนของคลื่นเสียง • 4.2 การหักเหของคลื่นเสียง • 4.3 การแทรกสอดของคลื่นเสียง • 4.4 การสั่นพ้อง • 4.5 การเลี้ยวเบนของคลื่นเสียง

  17. 4.1 การสะท้อนของคลื่นเสียง • การสะท้อนเป็นไปตามกฎการสะท้อนของคลื่นอื่น ๆ คือ 1. รังสีตกกระทบ เส้นปกติ รังสีสะท้อน อยู่บนระนาบเดียวกัน 2. มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน • 1) เสียงสะท้อนกลับ (echo) • 2) อัลทราซาวด์และการประยุกต์ใช้งาน • 1. โซนาร์ (sonar) • 2. อัลทราซาวด์ (ultrasound)

  18. Sonar (sound navigation and ranging) มีความถี่ในช่วง 20,000 - 50,000 Hz เช่น เสียงค้างคาว สุนัข ปลาโลมา เป็นต้น http://www.mod.uk/dpa/projects/sonarenvir/sonar_types.htm

  19. Ultrasound http://blue.utb.edu/sonography/home.html http://www.washington.edu/newsroom/news/images/ultrasound/

  20. ตัวอย่างแบบฝึกหัด • 4. ในอุณหภูมิ 200 เราต้องยืนห่างจากกำแพงใหญ่อย่างน้อยเท่าไร จึงจะได้ยินเสียงสะท้อนกลับ • (v = 343 m/s) • (L = 17.15 m)

  21. 4.2 การหักเหของคลื่นเสียง คลื่นเสียงหักเหได้ เป็นไปตามกฎการหักเห เช่นเดียวกับคลื่นอื่น ๆ ดังนี้ กฎข้อที่ 1 รังสีตกกระทบ รังสีหักเห และเส้นปกติอยู่บนระนาบเดียวกัน กฎข้อที่ 2 เป็นไปตามกฎของสเนลล์ดังนี้

  22. ตัวอย่างแบบฝึกหัด • 5. เสียงเคลื่อนที่จากอากาศที่อุณหภูมิ 15 C0 ไปสู่อากาศที่อุณหภูมิ 90 C0 ด้วยมุมตกกระทบ 30 0 จงหามุมหักเห (sin-1 (0.566)) • 6. เสียงเคลื่อนที่จากอากาศด้วยความเร็ว 750 m/s ไปสู่น้ำ ถ้าเสียงเคลื่อนที่ในน้ำได้เร็ว 1,500 m/s จงหามุมวิกฤติ (300)

  23. 4.3 การแทรกสอดของคลื่นเสียง • 1. ใช้แหล่งกำเนิดเสียงอาพันธ์ 2 แหล่ง • S1P - S2P = nλ ……….. antinode • S1P - S2P = (n - ½ )λ ……….. node • d = n (λ/2) , เมื่อ d = ระยะห่างระหว่าง S1S2 • 2. ใช้แหล่งกำเนิดเสียง 1 แหล่งและตัวสะท้อนเสียง • การคำนวณเหมือนกับลำโพง 2 ตัวหันหน้าเข้าหากัน นั่นคือ ใช้สมการ • d = n (λ/2) , เมื่อ n เป็นจำนวนลูพในช่วงระยะ d และ λ เป็นความยาวคลื่นเสียง

  24. 4.3 การแทรกสอดของคลื่นเสียง • เสียงเป็นคลื่นตามยาว เกิดการแทรกสอดเช่นเดียวกับคลื่นอื่น ๆ ถ้ามีคลื่นอาพันธ์ 2 ขบวนรวมกัน • ได้คลื่นเสียงลัพธ์เป็นคลื่นนิ่ง โดยที่ • จุดปฏิบัพ (antinode) จะมีเสียงดังที่สุด • จุดบัพ (node) จะมีเสียงเบาที่สุด

  25. ตัวอย่างแบบฝึกหัด • 7. ลำโพง 2 ตัวให้คลื่นเสียงมีความยาวคลื่น 0.5 m ชายคนหนึ่งอยู่ห่างจากลำโพงเป็นระยะ 7 , 5 m ตามลำดับ ชายคนนี้จะได้ยินเสียงอย่างไร (จุดปฏิบัพ ได้ยินเสียงดังที่สุด) • 8. ลำโพง 2 ตัวให้คลื่นเสียงมีความยาวคลื่น 0.4 m ชายคนหนึ่งอยู่ห่างจากลำโพงเป็นระยะ 7 , 6 m ตามลำดับ ชายคนนี้จะได้ยินเสียงอย่างไร (จุดบัพ ได้ยินเสียงเบาที่สุด) • 9. ลำโพง 2 ตัวให้คลื่นเสียงมีความยาวคลื่น 0.5 m และเฟสตรงกัน วางหันหน้าเข้าหากันอยู่ห่างกัน 1 m จงหาจำนวนบัพและปฏิบัพระหว่างลำโพงทั้งสอง (บัพ 4 จุด , ปฏิบัพ 3 จุด) • 10. ลำโพงตัวหนึ่งให้คลื่นเสียงมีความยาวคลื่น 0.5 m ไปสะท้อนที่ตัวสะท้อน ซึ่งห่างจาก 1 m จงหาจำนวนบัพและปฏิบัพระหว่างลำโพงกับตัวสะท้อน (บัพ 4 จุด , ปฏิบัพ 3 จุด)

  26. 4.4 การสั่นพ้อง • การสั่นพ้อง (resonance) หรือการกำทอน คือ การที่ระบบสั่นอย่างรุนแรงเมื่อมีความถี่ภายนอกที่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบมาใส่ให้ระบบนั้น เช่น • การสั่นของมวลที่ผูกติดกับปลายสปริง • การแกว่างของลูกตุ้มนาฬิกา

  27. คำนิยาม ในกรณีที่มีความถี่ธรรมชาติหลายค่า • 1. ความถี่มูลฐาน (fundamental) คือ ความถี่ของเสียงต่ำสุดของความถี่ธรรมชาติ • 2. ฮาร์โมนิก (harmonics) คือ การสั่นที่มีความถี่เป็นจำนวนเต็มเท่าของความถี่มูลฐาน เช่น ถ้าให้ความถี่มูลฐานเป็น 50 รอบ/วินาที ฮาร์โมนิกที่ 2 หมายความว่า มีความถี่เป็นสองเท่าของความถี่มูลฐาน คือ 100 รอบ/วินาที • 3. โอเวอร์โทน (overtone) คือ การสั่นที่มีความถี่สูงขึ้นจากความถี่มูลฐาน โดยเป็นจำนวนเต็มเท่าความถี่มูลฐาน

  28. harmonics http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l4d.html

  29. harmonics http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l4d.html

  30. harmonics http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l4c.html

  31. http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l5b.htmlhttp://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l5b.html

  32. ตัวอย่างแบบฝึกหัด • 11) จงหาความถี่ของส้อมเสียงที่จ่อปากหลอดกำทอน แล้วเกิดกำทอนโอเวอร์โทนที่ 1 ตามรูป น.193 ถ้าขณะนั้นเสียงมีอัตราเร็ว 340 m/s(1,700 Hz)

  33. 4.5 การเลี้ยวเบนของคลื่นเสียง • คลื่นเสียงจะเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางได้ • เช่น เสียงจากลำโพงเมื่อผ่านขอบผนังห้องมีคลื่นเสียงบางส่วนเลี้ยวเบนอ้อมขอบผนังห้องได้

  34. 5. คลื่นเสียงกับการได้ยิน • 5.1 หูคนและกลไกลการได้ยิน • 5.2 ความเข้มและความดังของเสียง ความถี่ของเสียงที่คนปกติได้ยิน f = 20 – 20,000 Hz ความเข้มเสียงที่คนปกติได้ยิน I = 10-12 W/m2 ถึง 1 W/m2

  35. 5.1 หูและการได้ยิน • หูคนเรามี 3 ส่วน คือ • 1. หูส่วนนอก • 2. หูส่วนกลาง • 3. หูส่วนใน • หูมีกระดูก 3 ชิ้น ได้แก่ • 1. กระดูกค้อน • 2. กระดูกทั่ง • 3. กระดูกโกลน

  36. Anatomy of the human ear. http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l2d.html

  37. Anatomy of the human ear. http://en.wikipedia.org/wiki/Eustachian_tube

  38. เสียงที่คนปกติได้ยิน • คนปกติได้ยินเสียงอยู่ในช่วงความถี่ 20-20,000 Hz • ถ้าใช้ความถี่เป็นเกณฑ์จะแบ่งระดับเสียง (pitch) ได้ 2 ระดับ คือ • 1. เสียงสูง หรือเสียงแหลม (trebel) • 2. เสียงต่ำ หรือเสียงทุ้ม (bass)

  39. เสียงคู่แปด (octave) http://www.christian-music-contest.com/recording-studio-design-1.html

  40. 5.2 ความเข้มและความดังของเสียง • คนปกติจะได้ยินเสียงที่มีความเข้ม 10-12 – 1 W/m2 • ความเข้มเสียงมีหน่วยเป็น เดซิเบล (decible : dB) • ตั้งเป็นเกียรติกับ Alexander Graham Bell ผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์เป็นคนแรก

  41. Alexander Graham Bell http://www.24hourmuseum.org.uk/nwh_gfx_en/ART18568.html

  42. ระดับความเข้มของเสียงระดับความเข้มของเสียง http://www.homepowersystems.net/store.asp?pid=2572&catid=19580

  43. ความเข้มของเสียง • ความเข้มของเสียง คือ กำลังเสียงที่ตกกระทบในแนวตั้งฉากกับพื้นที่ ของหน้าคลื่นของทรงกลม 1 ตารางหน่วย ความเข้มสูงสุดที่มนุษย์ ทนได้ คือ 1 W/m2 • I = ความเข้มเสียง มีหน่วยเป็น วัตต์/ตารางเมตร (W/m2) • P = กำลัง มีหน่วยเป็น วัตต์ (W) • R = ระยะห่างจากแหล่งกำเนิดเสียง (m) • ระดับความเข้มของเสียง • I = ความเข้มของเสียง หน่วยเป็น W/m2 • I0 = ความเข้มของเสียงต่ำสุดที่คนเราจะได้ยิน 10-12 W/m2 • β = ระดับความเข้มเสียง หน่วยเป็น เดซิเบล (dB)

  44. ตัวอย่างแบบฝึกหัด • 12) เสียงมีกำลังเสียง 6 x 10-3W ผ่านตั้งฉากหน้าต่างที่มีพื้นที่ 0.3 m2 จงหาความเข้มของเสียงนี้ (2 x 10-2W/m2) • 13) เสียงมีความเข้ม 2 x 10-2W/m2 ตกตั้งฉากพื้นที่ 5 x 10 -5m2 เป็นเวลา 20 s จงหาพลังงานของเสียงนี้ (2 x 10-5J) • 14) เสียงแผ่ออกจากจุดกำเนิดเสียง ซึ่งหน้าคลื่นจะเป็นทรงกลม ถ้าผู้ฟังอยู่ห่างจากจุดกำเนิดเสียง 5 m ได้รับความเข้มเสียง 3 x 10-2W/m2 ถามว่า จุดกำเนิดเสียงมีกำลังงานเท่าไร (9.4 W) • 15) เสียงมีความเข้มเสียง 2 x 10-2 W/m2 จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าไร (103.01 dB) • 16) เสียงมีระดับความเข้ม 50 dB จะมีความเข้มเสียงเท่าไร (10-7W/m2)

  45. 6. การเกิดบีตส์ • บีตส์ (beats) เกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงที่มีความถี่ต่างกันไม่เกิน 7 Hertz • ความถี่บีตส์ คือ จำนวนครั้งของเสียงดังที่ได้ยินใน 1 วินาที • fb = f1 - f2 ; fb = ความถี่บีตส์ • ความถี่บีตส์ หาได้จากผลต่างของความถี่ของคลื่นเสียงทั้งสอง • ความถี่ที่หูได้ยิน • f1 , f2 = ความถี่ของคลื่นทั้งสอง

  46. http://www.kr.ac.th/ebook2/jonkol/05.html

  47. Beats • Beats are the periodic and repeating fluctuations heard in the intensity of a sound when two sound waves of very similar frequencies interfere with one another. • The beat frequency refers to the rate at which the volume is heard to be oscillating from high to low volume.

  48. Beats http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l3a.html#beats

More Related