580 likes | 1.67k Views
พฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ. สอนโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิราณี อินทรหนองไผ่. หน่วยที่ 1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมและพฤติกรรมสุขภาพ แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ ทฤษฎีการจูงใจเพื่อการป้องกันโรค
E N D
พฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ สอนโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิราณี อินทรหนองไผ่
หน่วยที่ 1 • แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมและพฤติกรรมสุขภาพ • แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ • แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ • แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ • ทฤษฎีการจูงใจเพื่อการป้องกันโรค • ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล • ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง • ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อและการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ
วัตถุประสงค์ • บอกปัจจัยกำหนดพฤติกรรมมนุษย์ได้ • อธิบายทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาพฤติกรรม • อธิบายพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ • อธิบายแนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ • อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อและการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพได้
ความหมายเกี่ยวกับพฤติกรรมความหมายเกี่ยวกับพฤติกรรม • สิ่งที่บุคคลสมัครใจจะกระทำหรือละเว้นการกระทำ (Gochman, 1988) • ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุกอย่างของสิ่งมีชีวิต (Twaddle, 1981) • เป็นกิจกรรมทุกอย่างที่มนุษย์กระทำ เป็นลักษณะการแสดงออกที่สังเกตเห็นได้ (เอื้อมพร ทองกระจาย, 2540)
วุฒิภาวะหรือพัฒนาการ พันธุกรรม ยาและสิ่งเสพติด การเรียนรู้ ปัจจัยกำหนดพฤติกรรม
ทฤษฎีสุขนิยม • เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากความต้องการ 2 อย่าง • มนุษย์เกิดมาพร้อมกับสัญชาติญาณในรูปพลังงานที่ผลักดันให้เกิดพฤติกรรม • พลัง ประกอบด้วย Id, Ego, Super ego
ทฤษฎีมนุษย์นิยม • เชื่อว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับศักยภาพความเป็นมนุษย์ • มนุษย์มีความต้องการ 5 ระดับ • พลัง ประกอบด้วย Id, Ego, Super ego • ความต้องการขั้นสูงจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อบุคคลได้รับความต้องการขั้นต่ำกว่าในทุกระดับ
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม • เน้นที่ กระบวนการของการแลกเปลี่ยนสัมพันธ์ หรือ การกระทำระหว่างบุคคล • เกิดเมื่อผู้กระทำพยายามจะเอาประโยชน์จากคู่กระทำ
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการรักษาโรค (จริยาวัตร, 2536) พฤติกรรมสุขภาพ คือ แนวคิดเกี่ยวกับทั้งพฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอก
พฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ คือ ความเชื่อ ความคาดหวัง การให้คุณค่า การรับรู้ของบุคคล ซึ่งแสดงออกในรูปแบบแผนการปฏิบัติหรือนิสัยในการทำกิจวัตรประจำวัน ที่มีผลต่อสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษาโรค (Gochman, 1988) สรุป พฤติกรรมสุขภาพ เป็นการแสดงออกของบุคคลทั้งภายใน ภายนอก ที่สังเกตได้และสังเกตไม่ได้ ในการกระทำ หรืองดเว้นการกระทำสิ่งที่มีผลต่อสุขภาพ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง พฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมการป้องกันโรค พฤติกรรมการเจ็บป่วย พฤติกรรมบทบาทคนเจ็บ คำที่สำคัญควรจำความหมาย
พฤติกรรมบทบาทคนเจ็บมีกี่ระยะพฤติกรรมบทบาทคนเจ็บมีกี่ระยะ ระยะที่ 1 ระยะมีอาการ ระยะที่ 2 ระยะรักษาตนเอง ระยะที่3 ระยะบอกให้คนสำคัญของตนเองรู้ ระยะที่ 4 ระยะประเมินอาการ ระยะที่ 5 ระยะสวมบทบาทผู้ป่วย
พฤติกรรมบทบาทคนเจ็บมีกี่ระยะพฤติกรรมบทบาทคนเจ็บมีกี่ระยะ ระยะที่ 6 ระยะแสดงความห่วงใย ระยะที่ 7 ระยะประเมินความเหมาะสมของวิธีรักษา ระยะที่ 8 ระยะเลือกแผนการรักษา ระยะที่ 9 ระยะรักษา ระยะที่ 10 ระยะประเมินประสิทธิผลการรักษา ระยะที่ 11 ระยะหายจากความเจ็บป่วย
พฤติกรรมด้านลบที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพพฤติกรรมด้านลบที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ กิจกรรมการอภิปรายกลุ่มใหญ่ ด้วย Mind Mapping
แนวคิดที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแนวคิดที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กิจกรรม 1. แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม เลือกประธาน เลขา ผู้นำเสนอ 2. เลือกทฤษฎีเพื่อใช้อภิปรายกลุ่ม 25 นาที 3. ตัวแทนนำเสนอสาระสำคัญของทฤษฎี กลุ่มละ 10 นาที 4. อาจารย์สรุป และให้ข้อคิดเห็น ประเมิน การทำงานเป็นทีม และการจัดการกลุ่ม
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ • พัฒนามาจาก ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม • เน้น ความสำคัญของสติปัญญาในการควบคุมพฤติกรรม • ปัจจัย 3 ด้านที่มีผลต่อการปฏิบัติแบบแผนการดำเนินชีวิต ได้แก่ • 1. ปัจจัยด้านความรู้ การรับรู้ • 2. ปัจจัยส่งเสริม • 3. สิ่งชักนำในการปฏิบัติ
ความสำคัญของสุขภาพ การรับรู้การควบคุมสุขภาพ การรับรู้ความสามารถของตนเอง คำจำกัดความของสุขภาพ การรับรู้ต่อภาวะสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยด้านความรู้ การรับรู้
ปัจจัยทางประชากร ลักษณะทางชีววิทยา อิทธิพลระหว่างบุคคล ปัจจัยสถานการณ์ ปัจจัยพฤติกรรม ปัจจัยส่งเสริม สิ่งชักนำการปฏิบัติ
แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ บุคคลต้องเชื่อว่า ตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค บุคคลต้องเชื่อว่า ผลที่ตามมาจากการเกิดโรคจะก่อให้เกิดอันตราย บุคคลต้องเชื่อว่า พฤติกรรมสุขภาพที่ควรปฏิบัตินั้นมีประโยชน์ สามารถลดความเสี่ยง หรือลดความรุนแรงได้ บุคคลต้องเชื่อว่า อุปสรรคจากการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพมีน้อยกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพองค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ 1. การรับรู้ของบุคคล ประกอบด้วย 1.1 การรับรู้โอกาสเสี่ยง 1.2 การรับรู้ความรุนแรง 1.3 การรับรู้ภาวะคุกคาม 2. ปัจจัยร่วม ประกอบด้วย 2.1 ปัจจัยด้านประชากร 2.2 ปัจจัยด้านจิตสังคม
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ (ต่อ) 2. ปัจจัยร่วม ประกอบด้วย 2.3 ปัจจัยด้านโครงสร้าง 2.4 ปัจจัยกระตุ้นการปฏิบัติ 3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นไปได้ของการปฏิบัติ 3.1 การรับรู้ประโยชน์ 3.2 การรับรู้อุปสรรค
ทฤษฎีการจูงใจเพื่อการป้องกันโรคทฤษฎีการจูงใจเพื่อการป้องกันโรค • พัฒนามาจาก 2 ทฤษฎี คือ แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และ ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถด้วยตนเอง • เน้น การตอบสนองเบื้องต้นทางพุทธิปัญญา • แรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรค จะทำได้ดีที่สุดเมื่อ • บุคคลเห็นว่าอันตรายต่อสุขภาพนั้นรุนแรง • รู้สึกไม่มั่นคง หรือเสี่ยง • เชื่อว่า การปรับตัวเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
- เชื่อมั่นว่า ตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ - ผลจากการปรับตัวที่ไม่พึงประสงค์นั้นมีน้อย - อุปสรรคการปรับตัวนั้นต่ำ
ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผลทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล - เชื่อว่า การที่บุคคลจะลงมือปฏิบัติอะไรก็ตาม จะต้องมีความตั้งใจใฝ่พฤติกรรมมาก่อน - ความตั้งใจมีอิทธิพลมาจากทัศนคติที่มีต่อพฤติกรรมนั้น - ความตั้งใจขึ้นกับความเชื่อในความสามารถตนเอง ว่าจะสามารถทำพฤติกรรมนั้นได้สำเร็จหรือไม่ และรวมถึงความคาดหวังในผลลัพธ์
ทฤษฎีความสามารถของตนเองทฤษฎีความสามารถของตนเอง - เดิมเป็นแนวคิดหนึ่งในทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม - การรับรู้ความสามารถของตน มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์อย่างยิ่ง - หากบุคคลไม่เชื่อมั่นในตนเอง แม้มีความสามารถก็ไม่สามารถทำกิจกรรมให้สำเร็จได้ - มนุษย์จะรับเอาพฤติกรรมใดไว้ ขึ้นกับปัจจัย 2 อย่าง 1. ความคาดหวังในผลลัพธ์ 2. ความเชื่อในความสามารถ
การสร้างการรับรู้ความสามารถ 4 แนวทาง 1. จากประสบการณ์ความสำเร็จของตนเอง 2. จากการสังเกตประสบการณ์ของผู้อื่น 3. จากการพูดชักจูง 4. จากสภาวะทางสรีระและอารมณ์
ระยะพัฒนาการ พื้นฐานด้านสติปัญญา การรับรู้การทำหน้าที่ของร่างกาย ปัจจัยด้านอารมณ์และจิตวิญญาณ การปฏิบัติของครอบครัว ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม พื้นฐานทางวัฒนธรรม ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อและการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก