1 / 26

เบาหวานขึ้นตา ( Diabetic Retinopathy)

เบาหวานขึ้นตา ( Diabetic Retinopathy). ทิฆัมพร อุทธศรี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา. โครงการค้นหาภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน. ครอบคลุม 1.ตา 2.ไต 3.เท้า. งบสนับสนุนจากสปสช. 330 , 000 บาท.

natan
Download Presentation

เบาหวานขึ้นตา ( Diabetic Retinopathy)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เบาหวานขึ้นตา (Diabetic Retinopathy) ทิฆัมพร อุทธศรี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา

  2. โครงการค้นหาภาวะแทรกซ้อนเบาหวานโครงการค้นหาภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ครอบคลุม 1.ตา2.ไต3.เท้า งบสนับสนุนจากสปสช. 330,000 บาท

  3. โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะตาบอดจากเบาหวาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 ทั้งจังหวัดต้องคัดกรองให้ได้ร้อยละ 80 ภายใน สิงหาคม 2553

  4. การดำเนินงาน ถ่ายภาพจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน ที่ห้องประชุมสิงห์ทอง รพร.เลิงนกทา ระหว่างวันที่ 14 -24 มิถุนายน 2553

  5. เป้าหมาย อ.เลิงนกทา มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนในปี พ.ศ.2552 จำนวนทั้งสิ้น 3,370 คน ต้องทำให้ได้ ร้อยละ 80 = 3000 คน

  6. ขั้นเตรียมการ 1. ข้อมูล/ค่าตอบแทน 1.1 การซักประวัติ และลงข้อมูลครบถ้วน ( 5 บาท/ราย) 1.2 การวัด VA (5บาท/ราย) หมายเหตุ หมายเหตุถ้าผู้ป่วยไม่มาไม่ได้ 1.3 ค่ารถพาผู้ป่วยมา (20บาท/ราย) หมายเหตุ ทุกระยะ 1.4 ค่าตอบแทนพยาบาลที่มาพร้อมผู้ป่วย (300 บาท/วัน) 1.5 ค่าตอบแทนพยาบาลถ่ายภาพจอประสาทตา (300 บาท/วัน) 1.6 ค่าตอบแทน อสม. (100 บาท/วัน)

  7. 2 .เอกสารที่ขอความกรุณาให้เตรียมมา 1.ชื่อสกุลพร้อมรายมือชื่อของผู้ป่วยตามแบบฟอร์ม จำนวน 2 ชุด 2.สำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประชาชน พร้อมลงรายมือชื่อ 1 ชุด 3.อัตรากำลัง 3.1 พยาบาลที่ผ่านการอบรมการถ่ายภาพจอประสาทตา 6 คน จาก โรงพยาบาลทรายมูล/กุดชุม/ไทยเจริญและเลิงนกทา 3.2 พยาบาลจากสอ. 1 คน/สอ. (วันที่พาผู้ป่วยมา) 3.3 อสม.สอละ 1 คน (วันที่พาผู้ป่วยมา) ขั้นเตรียมการ(ต่อ)

  8. 2 .เอกสารที่ขอความกรุณาให้เตรียมมา 1.ชื่อสกุลพร้อมรายมือชื่อของผู้ป่วยตามแบบฟอร์ม จำนวน 2 ชุด 2.สำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประชาชน พร้อมลงรายมือชื่อ 1 ชุด 3.อัตรากำลัง 3.1 พยาบาลที่ผ่านการอบรมการถ่ายภาพจอประสาทตา 6 คน จาก โรงพยาบาลทรายมูล/กุดชุม/ไทยเจริญและเลิงนกทา 3.2 พยาบาลจากสอ. 1 คน/สอ. (วันที่พาผู้ป่วยมา) 3.3 อสม.สอละ 1 คน (วันที่พาผู้ป่วยมา) ขั้นเตรียมการ(ต่อ)

  9. ขั้นดำเนินการ

  10. 1.แผนคัดกรองตา 2.เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 แบบฟอร์มลงรายมือชื่อผู้ป่วย 2.2 ทะเบียนบันทึกผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา

  11. Diabetic Retinopathy(DR) เกิดจากการทำลายของเส้นเลือดที่เลี้ยงจอรับภาพ เส้นเลือดที่เลี้ยงจอรับภาพจะบวม และรั่ว ทำให้จอรับภาพบวม และเกิดเส้นเลือดงอกผิดปกติที่จอรับภาพ ทำให้มีเลือดออกในลูกตา เนื่องจากเส้นเลือดเหล่านี้เปราะและแตกง่าย ตั้งแต่ตามัว เห็นภาพซ้อน มองภาพแคบลง ไปจนถึงมองไม่เห็นไปเลย อาจทำให้สูญเสียการมองเห็น

  12. กายวิภาคของตา

  13. ปัจจัยเสี่ยง 1. ระยะเวลาในการเป็นเบาหวาน เป็นเบาหวานนาน 10 ปี มีโอกาสพบเบาหวานขึ้นตาได้ประมาณ 10% เป็นเบาหวานนาน 15 ปี มีโอกาสพบเบาหวานขึ้นตาได้ประมาณ 50% เป็นเบาหวานนาน 25 ปี มีโอกาสพบเบาหวานขึ้นตาได้ประมาณ 80-90% 2.การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี 3. ภาวการณ์ตั้งครรภ์ 4. โรคไต 5. โรคซีด 6.ความดันโลหิตสูง 7.ระดับไขมันในเลือดสูง

  14. อาการ • การมองเห็นอาจปกติหรือเริ่มมีอาการตามัวเนื่องจากจอประสาทตาบวม • ในรายที่เป็น มากขึ้นมีเส้นเลือดผิดปกติงอกมากอาจจะแตกได้ง่ายจะเห็นเป็นจุด ๆ หรือมองไม่เห็นเลยถ้าเลือดออกมามาก

  15. TheClassification of DR แบ่งเป็น 3 ระยะ 1.Non Proliferative DR (NPDR) เป็นระยะแรกจะพบมีจุดเลือกออก 2.Proliferative DR (PDR)เป็นระยะที่จอตาขาดเลือดไปเลี้ยงและร่างกายหลั่งสารกระตุ้นให้มีการสร้างเส้นเลือดใหม่ ซึ่งเป็นเส้นเลือดที่เปราะแตกง่าย เกิดภาวะเลือดออกในน้ำวุ้นตาและเกิดพังผืดดึงจอประสาทตาให้ลอกหลุด ทำให้ตาบอดได้ 3. Diabetic macular edema บริเวณจุดรับภาพบวม ทำให้การมองเห็นลดลง

  16. NoDR

  17. dot/blot blot dot

  18. Lipid/Hard exudation

  19. CWS (soft exudate)

  20. Venous beading/loops

  21. NVD

  22. การรักษา • การฉายแสงเลเซอร์ (Retina Photocoagulation) • การฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา (Intravitreal pharmacologic injection) • การผ่าตัดน้ำวุ้นตา (Vitrectomy)

  23. 1. การฉายแสงเลเซอร์ (Retina hotocoagulation) การรักษาโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในระยะ PDR นี้ แสงเลเซอร์จะถูกฉายลงบนจอประสาทตาโดยตรง เป็นบริเวณกว้างและเฉพาะจุดที่มีเส้นเลือดงอกใหม่ที่ผิดปรกติ ทำให้เส้นเลือดที่ผิดปรกติเหล่านี้หายไป โรคสงบและหยุดลุกลามได้ ในผู้ป่วยบางรายอาจต้องได้รับการฉายแสงเลเซอร์ต่อเนื่องกันหลายครั้ง จึงจะสามารถควบคุมโรคได้

  24. การฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา (Intravitreal pharmacologic injection) ได้แก่ ยากลุ่ม steroid เพื่อรักษาโรคจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมจากเบาหวาน มีข้อดีคือ ในรายที่ตอบสนองต่อยาได้ดี การมองเห็นจะกลับคืนมาได้เกือบเท่าหรือเท่าปรกติ โดยไม่มีผลทำลายจอประสาทตาบางส่วนเหมือนการฉายแสงเลเซอร์ แต่มีข้อจำกัดคือ ยามีฤทธิ์อยู่ได้ชั่วคราวเฉลี่ย 3-4 เดือน และต้องทำการฉีดด้วยเทคนิคปลอดเชื้อในห้องผ่าตัด รวมทั้งอาจมีผลข้างเคียงของยา หรือภาวะแทรกซ้อนจากวิธีการฉีดเหมือนกับการผ่าตัดอื่นๆได้

  25. 3. การผ่าตัดน้ำวุ้นตา (Vitrectomy) ในกรณีที่โรครุนแรงจนมีเลือดออกในน้ำวุ้นตา และ/หรือมีพังผืดดึงรั้งจอประสาทตาหลุดลอก หรือมีจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมเรื้อรังที่ไม่ตอบสนองต่อการฉายแสงเลเซอร์หรือยาฉีด จะต้องให้การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดน้ำวุ้นตา จอประสาทตา เพื่อพยายามยับยั้งโรคและป้องกันไม่ผู้ป่วยสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร

  26. การป้องกัน • ผู้ที่เป็นเบาหวานมานานกว่า 15 ปี จะมีโอกาสเป็นเบาหวานขึ้นตามากกว่าร้อยละ80 การดูแลตัวเองที่ดีจะช่วยลดอาการแทรกซ้อนจากเบาหวานขึ้นตาได้ • ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ระดับปกติ • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และกินอาหารให้ถูกสุขลักษณะ • ตรวจกับจักษุแพทย์อย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้ง เพื่อตรวจตาอย่างละเอียด จะช่วยป้องกันโรคแทรกซ้อนหรือสามารถขจัดปัญหาทางตาได้ตั้งแต่เริ่มแรก และถ้าพบว่าเบาหวานขึ้นตาแล้ว ต้องกลับไปตรวจเป็นระยะๆ • ถ้ามีอาการตามัว ควรไปพบจักษุแพทย์ทันที

More Related