320 likes | 529 Views
การเบิกหักผลักส่ง. โดย พ.ต.ท.หญิง วาสนา สุวรรณเรืองศรี รอง ผกก.ฝ่ายบัญชี 3 กช. สงป. การเบิกหักผลักส่ง มีคำสั่งรองรับการปฏิบัติงาน ดังนี้ การเบิกหัก เงินงบประมาณเป็นเงินนอกงบประมาณของตนเอง คำสั่งปฏิบัติงาน : ZGL_ N 1/ บช. 04( N1 ) (เงินทุนหมุนเวียน)
E N D
การเบิกหักผลักส่ง โดย พ.ต.ท.หญิง วาสนา สุวรรณเรืองศรี รอง ผกก.ฝ่ายบัญชี 3 กช.สงป.
การเบิกหักผลักส่ง มีคำสั่งรองรับการปฏิบัติงาน ดังนี้ • การเบิกหัก เงินงบประมาณเป็นเงินนอกงบประมาณของตนเอง คำสั่งปฏิบัติงาน : ZGL_ N 1/ บช.04(N1) (เงินทุนหมุนเวียน) • การเบิกหักผลักส่งเงินฝากคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน คำสั่ง: ZGL_N3 /บช. 01 / (N3) • การเบิกหักผลักส่งเงินงบประมาณ(ปีใหม่) ส่งเป็นรายได้ปีเก่าข้ามปี : ZGL _M5 และ การบันทึกปีงบประมาณใหม่ : ZGL_N4 กรณี ดังกล่าวเป็นการบันทึกของหน่วยงานของต่างประเทศ
การเบิกหักผลักส่ง มีคำสั่งรองรับการปฏิบัติงาน ดังนี้ • การเบิกหักผลักส่งรายได้แผ่นดิน ประเภทค่าปรับของสถานศึกษา เป็นเงินฝากคลัง :ZGL_N6 กรณีดังกล่าวเป็นของสถานศึกษา • เบิกหักผลักส่งรายได้แผ่นดินเป็นเงินฝากคลัง คำสั่ง : ZGL_N7 / บช. 04 (N7) ใช้บันทึกในกรณี ที่หน่วยขอตกลงกับกระทรวงการคลัง ขอถอนคืนรายได้แผ่นดิน และได้รับอนุญาต ถอนคืนเป็นรายได้แผ่นดิน
การเบิกหักผลักส่งของ ตร. เงินทุนหมุนเวียนของ สตช. มีจำนวน 3 ประเภท เงินทุนหมุนเวียน เพื่อซื้อขายรถจักรยานยนต์ผ่อนส่งให้แก่ข้าราชการตำรวจ รหัสเงินฝากคลัง 00961 เงินทุนหมุนเวียน เพื่อซื้อขายอาวุธปืนผ่อนส่งให้แก่ข้าราชการตำรวจ รหัสเงินฝากคลัง 00962 • การเบิกหัก เงินงบประมาณเป็นเงินนอกงบประมาณของตนเองคำสั่งปฏิบัติงาน : ZGL_ N 1/ บช.04(N1) (เงินทุนหมุนเวียน)
ปัจจุบันทั้ง 2 กองทุนดังกล่าว ปิดกองทุนอยู่ระหว่างรอการชำระบัญชี มีบางหน่วย เช่น ในสังกัด บก.รน. มียอดเงินฝากคลัง รหัสดังกล่าวคงค้างในระบบ ซึ่งหน่วยต้องติดต่อประสาน กองการเงิน เพื่อปรับปรุงให้ถูกต้อง
๓. เงินทุนหมุนเวียนประเภท กองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา เป็นกองทุนที่จัดขึ้นตาม พ.ร.บ. ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ลักษณะที่ 7 มาตรา 112 เป็นเงินทุนเพื่อสนับสนุนการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา โดยมีที่มาของเงินกองทุน 4 ประเภท • เงินอุดหนุนจากรัฐบาล • เงินและทรัพย์สินที่ได้รับจากหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือมูลนิธิ
ดอกผลที่เกิดจากกองทุนดอกผลที่เกิดจากกองทุน • ค่าเปรียบเทียบคดีอาญาที่เป็นอำนาจของข้าราชการตำรวจ และเงินค่าปรับตามกฎหมายว่าด้วย การจราจรทางบก เฉพาะส่วนที่จะต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินซึ่งคณะรัฐมนตรี ได้อนุมัติในหลักการให้นำเงินดังกล่าวเข้าสมทบกองทุนได้ปัจจุบันหักได้ในอัตราร้อยละ 95 ของรายได้แผ่นดินที่ต้องนำส่ง 100 บาท การบันทึกทางบัญชีจะมีคู่มือกองทุนสืบสวนฯ สำหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
ผลักส่งรายได้ปีปัจจุบันผลักส่งรายได้ปีปัจจุบัน เดบิต บัญชีรายได้ (ระบุประเภท) 43xxxxxxx เครดิต บัญชีรายได้อื่นที่มิใช่ภาษีอื่น 4206010199 • การเบิกหักผลักส่งเงินฝากคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน คำสั่ง : ZGL_N3 /บช. 01 / (N3) เป็นการบันทึกลดยอดเงินฝากคลัง กรณี ไม่มีสิทธิ์ใช้เงินฝากคลังหรือเงินนอกงบประมาณนั้นหมดความจำเป็นหรือหมดระยะเวลาการใช้จ่ายหรือมีข้อกำหนดกฎหมาย/ระเบียบเป็นรายได้แผ่นดิน มี 3 กรณี • เงินฝากคลังที่เป็นรายได้ของปีปัจจุบัน เป็นรายได้แผ่นดิน
การเบิกหักผลักส่งเงินฝากคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน คำสั่ง: ZGL_N3 /บช. 01 / (N3) • ๒. เงินฝากคลังที่เป็นรายได้ของปีก่อน เป็นรายได้แผ่นดิน ผลักส่งรายได้ปีก่อน เดบิต บัญชี ค่าใช้จ่ายผลักส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (5104030218) เครดิต บัญชีรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอื่น (4206010199)
การเบิกหักผลักส่งเงินฝากคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน คำสั่ง • : ZGL_N3 /บช. 01 / (N3) ๓. การเบิกหักผลักส่งเงินฝากคลังที่เป็นหนี้สินเป็นรายได้แผ่นดิน ผลักส่งหนี้สินเป็นรายได้แผ่นดิน เดบิต บัญชีเงินรับฝากอื่น (2111020199) เครดิต บัญชีรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอื่น (4206010199)
คู่บัญชีที่เกิดขึ้นในงบทดลองหลังจากหน่วยดำเนินการเบิกหักผลักส่ง ตามประเภท (1) – (3) คู่บัญชี AUTO เดบิต บัญชีค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน –หน่วยงานโอนโอนรายได้แผ่นดินให้กรมบัญชีกลาง (5210010103) เครดิต เงินฝากคลัง (1101020501)
เงินนอกงบประมาณของ ตร. ที่ต้องเบิกหักผลักส่งมีดังนี้ • เงินบูรณะทรัพย์สิน ตร. มีนโยบายบันทึกเงินบูรณะทรัพย์สินไว้ในรหัสบัญชีแยกประเภท 211020199 เงินรับฝากอื่น ตามหนังสือ กช.สงป.ที่0010.33/1709 ลง 15 ส.ค.2556 ส่วนราชการต้องปรับเป็นรายได้แผ่นดินตามปีบัญชีคู่ 2. บัญชีเงินฝากคลังเพื่อรอการสะสาง กช.สงป. เป็นผู้ดำเนินการปรับเป็นรายได้แผ่นดิน
การบัญชีเกี่ยวกับการโอนเงินฝากคลังของส่วนราชการ (โอนขายบิล) การโอนเงินฝากคลังหมายถึง การโอนขายบิลในระบบบัญชีของส่วนราชการแบบเดิม หรือการโอนเงินนอกงบประมาณที่ฝากคลัง ซึ่งเกิดจากการรับเงินนอกงบประมาณ ประเภทหนี้สินหรือรายได้เงินนอกงบประมาณจากหน่วยเบิกจ่ายหนึ่งไปยังอีกหน่วยเบิกจ่ายหนึ่ง • โอนขายบิลภายในกรมเดียวกัน ประเภทรายได้ : ZRP_RI / บช.04 (RI) • โอนขายบิลข้ามกรมประเภทรายได้ : ZRP_RI / บช.04 (RI) • โอนขายบิลภายในกรมเดียวกันประเภทหนี้สิน : ZRP_RK / บช.04 (RK) • โอนขายบิลในกรมเดียวกันประเภทหนี้สิน : ZRP_RL / บช.04 (RL)
การบันทึกรายงานทางบัญชีการบันทึกรายงานทางบัญชี
โอนขายบิล เดบิต เงินสดในมือ เครดิต รายได้ (ระบุประเภท) 43xxxxxxxx หนี้สิน (ระบุประเภท) 2xxxxxxxx เดบิต ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอน เงินนอก งปม.ให้ กรมบัญชีกลาง เครดิต พักเงินนำส่ง นำเงินส่งธนาคาร ประเภทเอกสาร CJ เดบิต พักเงินนำส่ง เครดิต เงินสดในมือ เดบิต เงินฝากคลัง เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง บันทึกนำเงินส่งคลัง Web นส 02-1/ZRP_R2 บันทึกเพิ่มเงินฝากคลัง Web นส 02-1/ZRP_RX บันทึกรับเงิน Web นส 01/ZRP_RB
โอนขายบิล-ภายในกรมเดียวกัน RI (รายได้) โอนขายบิล ภายในกรมเดียวกัน แบบ บช 04/ZRP_RI (รายการพัก) เดบิต เงินฝากคลัง (ผู้รับโอน) เครดิต เงินฝากคลัง (ผู้โอน) เดบิต เงินรับฝากรัฐบาล เครดิต เงินรับฝากรัฐบาล ผู้โอน เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน- ภายในกรมเดียวกัน เครดิต เงินฝากคลัง ผู้รับโอน เดบิต เงินฝากคลัง เครดิตรายได้ระหว่างหน่วยงาน- ภายในกรมเดียวกัน บก.ผ่านรายการ
โอนขายบิล-ภายในกรมเดียวกัน RK (หนี้สิน) โอนขายบิล ภายในกรมเดียวกัน แบบ บช 04/ZRP_RK (รายการพัก) เดบิต เงินฝากคลัง (ผู้รับโอน) เครดิต เงินฝากคลัง (ผู้โอน) เดบิต เงินรับฝากรัฐบาล (9999) เครดิต เงินรับฝากรัฐบาล(9999) เดบิต เงินรับฝากอื่น เครดิต เงินรับฝากอื่น
โอนขายบิล-ภายในกรมเดียวกัน RK (หนี้สิน) บก.ผ่านรายการ ผู้โอน เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน- ภายในกรมเดียวกัน เครดิต เงินฝากคลัง เดบิต เงินรับฝากอื่น เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน- ภายในกรมเดียวกัน ผู้รับโอน เดบิต เงินฝากคลัง เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน- ภายในกรมเดียวกัน เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน- ภายในกรมเดียวกัน เครดิต เงินรับฝากอื่น
โอนขายบิล-ข้ามกรม RJ (รายได้) โอนขายบิลข้ามกรม แบบ บช 04 / ZRP_RJ (รายการพัก) เดบิต เงินฝากคลัง (ผู้รับโอน) เครดิต เงินฝากคลัง (ผู้โอน) เดบิต เงินรับฝากรัฐบาล เครดิต เงินรับฝากรัฐบาล
โอนขายบิล-ข้ามกรม RJ (รายได้) บก.ผ่านรายการ ผู้โอน เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง เครดิต เงินฝากคลัง เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอนให้หน่วยงานอื่น เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินนอก งปม.จาก บก. ผู้รับโอน เดบิต เงินฝากคลัง เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน- หน่วยงานโอนเงินนอก งปม.ให้ บก. เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินจากหน่วยงานอื่น
โอนขายบิล-ข้ามกรม RL (หนี้สิน) โอนขายบิลข้ามกรม แบบ บช 04 / ZRP_RL (รายการพัก) เดบิต เงินฝากคลัง เครดิต เงินฝากคลัง เดบิต เงินรับฝากรัฐบาล (9999) เครดิต เงินรับฝากรัฐบาล(9999) เดบิต เงินรับฝากอื่น เครดิต เงินรับฝากอื่น
โอนขายบิล-ข้ามกรม RL (หนี้สิน) บก.ผ่านรายการ ผู้โอน เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง เครดิต เงินฝากคลัง เดบิต เงินรับฝากอื่น เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินนอก งปม.จาก บก. ผู้รับโอน เดบิต เงินฝากคลัง เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง เดบิต คชจ. ระหว่างหน่วยงาน- หน่วยงานโอนเงินนอก งปม.ให้ บก. เครดิต เงินรับฝากอื่น
การแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี กรณีโอนเงิน
วิธีปฏิบัติงานกรณีโอนเงินฝากคลัง รูปแบบการบันทึกบัญชีและการปรับปรุงเงินฝากคลังทั้งในส่วนของหน่วยงานผู้โอนและหน่วยงานผู้รับโอน จะต้องระบุรหัสต่างๆ ให้สอดคล้องกับข้อมูลหลัก (Master Data) ในระบบ GFMIS โดยต้องถือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนดในระบบ
ข้อคลาดเคลื่อนในการโอนขายบิลข้อคลาดเคลื่อนในการโอนขายบิล สามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไขได้ 2 กรณี 1. ข้อคลาดเคลื่อนเกิดจาก หน่วยงานผู้โอน โอนเงินฝากคลังเข้าบัญชีหน่วยงานผู้รับโอนไม่ถูกต้อง 2. ข้อคลาดเคลื่อนเกิดจาก หน่วยงานผู้โอน ระบุรหัสบัญชีแยกประเภทหนี้สินไม่ถูกต้อง
หน่วยงานผู้โอน โอนเงินฝากคลังเข้าบัญชีหน่วยงานผู้รับโอน ไม่ถูกต้อง • กรณีกรมบัญชีกลางยังไม่ผ่านรายการเอกสารการโอนเงิน หน่วยงานผู้โอนประสานกรมบัญชีกลางให้ยกเลิกเอกสาร และบันทึกโอนเข้าระบบใหม่ให้ถูกต้อง • กรมบัญชีกลางผ่านรายการเอกสารโอนเงินฝากคลังเรียบร้อยแล้ว และหน่วยงานผู้รับโอนตรวจพบข้อคลาดเคลื่อนจากรายงานสมุดรายวัน ZGL_RPT001หรือรายงานเงินฝากคลัง ZGL_RPT013ต้องบันทึกปรับปรุงรายการโดยวิธีการโอนเงินฝากคลังภายในหน่วยงานเดียวกัน คำสั่งงาน ZRP_RIหรือ บช.04/(RI) โดยปรับปรุงล้างบัญชีเงินฝากคลัง (Subbook) ที่ผิดโดยหน่วยงานผู้รับโอน และบันทึกเงินฝากคลังที่ถูกต้อง (Subbook)
คู่บัญชี 1. บันทึกเงินฝากคลัง Subbookที่ถูกต้อง เดบิต เงินฝากคลังที่ถูกต้อง xx เครดิต เงินรับฝากของรัฐบาล (9999) XX 2. บันทึกลดยอดเงินฝากคลังที่ผิดพลาด เดบิต เงินรับฝากของรัฐบาล XX เครดิต เงินฝากคลังที่ผิด XX
เมื่อกรมบัญชีกลางผ่านรายการเอกสารจะเกิดคู่บัญชีหน่วยงานผู้รับโอนดังนี้เมื่อกรมบัญชีกลางผ่านรายการเอกสารจะเกิดคู่บัญชีหน่วยงานผู้รับโอนดังนี้ คู่ที่ 1 เดบิต ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกันXX เครดิต เงินฝากคลัง (Subbookที่ผิด)XX คู่ที่ 2 เดบิต เงินฝากคลัง (Subbookที่ถูก)XX เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกันXX คู่ที่ 3เดบิต เงินรับฝากของรัฐบาล (9999) XX เครดิต เงินรับฝากของรัฐบาล (9999) XX
หน่วยงานผู้โอนระบุรหัสบัญชีแยกประเภทหนี้สินไม่ถูกต้องหน่วยงานผู้โอนระบุรหัสบัญชีแยกประเภทหนี้สินไม่ถูกต้อง เมื่อหน่วยงานผู้โอนและผู้รับโอนตรวจสอบว่าหน่วยงานผู้โอนเลือกใช้รหัสบัญชีแยกประเภทหนี้สินไม่ถูกต้อง เช่น หน่วยงานผู้โอนต้องโอนเงินรับฝากอื่น รหัสบัญชีแยกประเภท 2111020199 แต่บันทึกผิดเป็นบัญชีเงินประกันอื่น รหัสบัญชีแยกประเภท 2112010199 หน่วยงานต้องปรับปรุงคือ หน่วยงานผู้โอนและหน่วยงานผู้รับโอน ด้วยคำสั่ง ZGL_JV หรือ แบบ บช.01 ประเภทเอกสาร JV คู่บันทึกบัญชีดังนี้
ผู้โอน เดบิต บัญชีเงินรับฝากอื่น XX เครดิต เงินประกันอื่น XX ผู้รับโอน เดบิต บัญชีเงินประกันอื่น XX เครดิต บัญชีเงินรับฝากอื่น xx การอ้างอิง : เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลทางบัญชีให้ระบุเลขที่เอกสารเดิมที่ต้องการปรับปรุงในช่องอ้างอิงในคำสั่งงาน ZGL_JV หรือ บช.01(JV)