1 / 71

บทที่ 6. ตัวแบบการกำหนดงาน

บทที่ 6. ตัวแบบการกำหนดงาน. ตัวแบบการกำหนดงาน. เป็นตัวแบบที่ใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับมอบหมายงานหรือแจกแจงงานให้แก่พนักงาน เครื่องจักร หน่วยงาน เพื่อให้ได้ผลการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เป้าหมายคือ ลดต้นทุน ค่าใช้จ่าย หรือความเสียหายให้น้อยที่สุด เพิ่มกำไร รายได้ ยอดขาย หรือผลผลิตสูงสุด.

myra
Download Presentation

บทที่ 6. ตัวแบบการกำหนดงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6.ตัวแบบการกำหนดงาน

  2. ตัวแบบการกำหนดงาน • เป็นตัวแบบที่ใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับมอบหมายงานหรือแจกแจงงานให้แก่พนักงาน เครื่องจักร หน่วยงาน เพื่อให้ได้ผลการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด • เป้าหมายคือ • ลดต้นทุน ค่าใช้จ่าย หรือความเสียหายให้น้อยที่สุด • เพิ่มกำไร รายได้ ยอดขาย หรือผลผลิตสูงสุด

  3. 6.1 ลักษณะปัญหาการกำหนดงาน • ลักษณะปัญหาคล้ายกับปัญหาการขนส่ง คือมีจุดต้นทางและจุดปลายทาง • ปัญหาการขนส่งเป็นการส่งสินค้าจากจุดต้นทางไปยังจุดปลายทาง • แต่สำหรับปัญหาการกำหนดงานเป็นการส่งคนไปรับผิดชอบงานที่ทำ • จุดต้นทางเป็นพนักงานที่มีอยู่ ส่วนจุดปลายทางคืองานที่กำหนด • หรือส่งงานไปให้คนหรือเครื่องจักรทำการผลิต • จุดต้นทางเป็นงานที่มีอยู่ จุดปลายทางเป็นพนักงานผู้ได้รับผิดชอบ • เราอาจจะแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบตัวกำหนดการเชิงเส้น หรือตัวกำหนดการขนส่ง • แต่ก็มีวิธีการแก้ปัญหาเฉพาะสำหรับตัวแบบกำหนดงานเช่นกัน

  4. 6.1 ลักษณะปัญหาการกำหนดงาน • ปัญหาการกำหนดงานจะพิจารณาว่าพนักงานแต่ละคน หรือเครื่องจักรแต่ละเครื่องมีความสามารถพื้นฐานใกล้เคียงกัน คือสามารถที่จะทำงานชนิดใดก็ได้ที่ถูกมอบหมาย • แต่มีประสิทธิภาพไม่เท่ากันเช่น ใช้เวลาในการทำงานไม่เท่ากัน มีค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน ทำกำไรไม่เท่ากัน หรือมียอดขายไม่เท่ากันเป็นต้น • ลักษณะของปัญหากำหนดงานจะใช้เงื่อนไข One-to-One Basis คือพนักงานทุกคนจะให้รับผิดชอบงานเพียงงานเดียว และงานแต่ละงานจะต้องมีผู้รับผิดชอบเพียงคนเดียว • ดังนั้นปัญหากำหนดงานจะต้องมีจำนวนจุดต้นทางเท่ากับจำนวนจุดปลายทาง หรือจำนวนพนักงาน หรือเครื่องจักรเท่ากับจำนวนงาน

  5. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • เราสามารถแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยใช้วิธีของตัวแบบกำหนดการเชิงเส้นหรือตัวแบบการขนส่งก็ได้ • ความแตกต่างระหว่างปัญหากำหนดการเชิงเส้น ปัญหาการขนส่ง และปัญหากำหนดงานคือ • ปัญหากำหนดงานเชิงเส้นและปัญหาการขนส่งเป็นการหาจำนวนรองเท้าที่จะผลิต จำนวนเงินที่จะลงทุน จำนวนสินค้าที่จะส่งจากโรงงานที่ระยองไปให้ลูกค้า เพื่อให้ได้กำไรสูงสุด หรือค่าใช้จ่ายต่ำสุด • ปัญหาการกำหนดงานเป็นการตอบคำถาม หรือไม่ เช่น จะให้นายนภดลทำงานที่ 1 เหมาะสมหรือไม่ ดังนั้นคำตอบจึงไม่ใช่ปริมาณงาน แต่เป็นคำตอบว่าเหมาะสม (Yes=1) หรือไม่เหมาะสม (No=0) • เราเรียกตัวแบบลักษณะนี้ว่าตัวแบบกำหนดการเชิงเส้นเลขจำนวนเต็มทวิภาค (Binary Integer Linear Programming Model (BILP))

  6. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • ถ้าแก้ปัญหาโดยใช้วิธีกำหนดการเชิงเส้น กำหนดให้ Xij=การกำหนดคนงาน iให้ทำงาน j Cij=ค่าใช้จ่าย (หรือผลประโยชน์)ในการกำหนดคนงาน รให้ทำงาน j โดยที่ Xijมีค่าเป็น 0 หรือ 1 เท่านั้น ถ้า Xij=1 แสดงว่ามีการกำหนดให้คนงาน iทำงาน j ถ้า Xij=0 แสดงว่าไม่มีการกำหนดให้คนงาน iทำงาน j • minimize หรือ maximize โดยขึ้นกับ

  7. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • กำหนดให้ Xij=การกำหนดคนงาน iให้ทำงาน j Cij=ค่าใช้จ่าย (หรือผลประโยชน์)ในการกำหนดคนงาน รให้ทำงาน j โดยที่ Xijมีค่าเป็น 0 หรือ 1 เท่านั้น ถ้า Xij=1 แสดงว่ามีการกำหนดให้คนงาน iทำงาน j ถ้า Xij=0 แสดงว่าไม่มีการกำหนดให้คนงาน iทำงาน j • minimize หรือ maximize โดยขึ้นกับ

  8. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • ถ้าเลือกใช้ปัญหาการขนส่ง จะเป็นปัญหาการขนส่งที่มีจำนวนจุดต้นทางเท่ากับจำนวนจุดปลายทาง (n=m) • และเป็นปัญหาการขนส่งที่มีค่า ai=1 และ bj=1 ดังนั้นปัญหาการกำหนดงานจึงมีสมมติฐานคล้ายกับปัญหาการขนส่งคือ

  9. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน

  10. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • ตัวอย่างที่ 6.1 บริษัทริสาผลิตเสื้อผ้าประเภทต่างๆ ส่งให้แก่ผู้ผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป บริษัทไม่มีโรงงานผลิตเอง แต่สั่งผลิตจากบริษัทผู้ผลิต 4 ราย ในเดือนหน้าบริษัทริสาได้รับคำสั่งซื้อเสื้อผ้า 4 ชนิด บริษัทต้องการให้ผู้ผลิตแต่ละรายผลิตเสื้อผ้าเพียงชนิดเดียว ผู้ผลิตแต่ละรายได้เสนอราคาการผลิตผ้าแต่ละชนิดให้บริษัทริสา ดังแสดงในตาราง 6.2 (พันบาท)

  11. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • สร้างตัวแบบกำหนดการเชิงเส้นของปัญหาบริษัทริสาดังนี้ กำหนดให้ Xij=การกำหนดให้บริษัท iผลิตผ้า j i=1,2,3,4 แทนผู้ผลิต ก ข ค ง j=1,2,3,4 • Minimize Z = 15X11+18X12+18X13+16X14 +14X21+19X22+13X23+17X24 +11X31+16X32+13X33+14X34 +12X41+16X42+14X43+15X44

  12. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • ภายใต้เงื่อนไขของปัญหาบริษัทริสาดังนี้ X11+X12+X13+X14=1 X21+X22+X23+X24=1 X31+X32+X33+X34=1 X41+X42+X43+X44=1 X11+X21+X31+X41=1 X12+X22+X32+X42=1 X13+X23+X33+X43=1 X14+X24+X34+X44=1 Xij=0,1 (i=j=1,2,3,4)

  13. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • ถ้าแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม Lindoเราจะได้ • จะเห็นว่าเพื่อให้ได้ต้นทุนการผลิตต่ำสุด จะต้องให้ บริษัทที่ 1 ผลิตผ้าชนิดที่ 4 บริษัทที่ 2 ผลิตผ้าชนิดที่ 3 บริษัทที่ 3 ผลิตผ้าชนิดที่ 1 บริษัทที่ 4 ผลิตผ้าชนิดที่ 2 • รวมการผลิตผ้าทั้ง 4 ชนิดเป็นเงิน 56,000 บาท

  14. 6.2 ตัวแบบเชิงปริมาณที่ใช้แก้ปัญหาการกำหนดงาน • ถ้าแก้ปัญหาโดยใช้แบบกำหนดการขนส่ง ก็จะได้ผลลัพธ์แบบเดียวกันและได้ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 56,000 บาท

  15. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • วิธีฮังกาเรียนใช้ได้กับสมมติฐานที่ว่าจำนวนคนงานและงานต้องเท่ากัน และใช้พื้นฐานหลักการ One-to-One Basis นั่นคือกำหนดงานเดียวให้แก่คนงานแต่ละคน และงานแต่ละงานจะต้องมีผู้รับผิดชอบเพียงคนเดียว • ขั้นตอนฮังกาเรียนประกอบด้วย • ตรวจสอบจำนวนแถว = จำนวนสดมภ์ ถ้าไม่เท่ากัน ให้เติมแถวหรือสดมภ์สมมติ • สร้างตารางเบื้องต้นโดย • หักค่าด้านแถวด้วยค่าต่ำสุดในแถวแต่ละแถว • หักค่าด้านสดมภ์ด้วยค่าต่ำสุดในสดมภ์แต่ละสดมภ์ • ตรวจสอบว่าตัวเลขในตารางสามารถใช้กำหนดงานได้หรือไม่ โดยลากเส้นตรงในแนวนอนหรือแนวตั้งให้ผ่านเลข 0 ทุกตัวที่มีอยู่ในตาราง โดยใช้เส้นตรงให้น้อยที่สุด

  16. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ถ้าจำนวนเส้นตรงที่ลากได้เท่ากับจำนวนแถว แสดงว่าสามารถกำหนดงานที่เหมาะสมได้ ข้ามไปขั้นตอนที่ 5 • ถ้าจำนวนเส้นตรงที่ลากได้น้อยกว่าจำนวนแถว แสดงว่าต้องปรับปรุงตารางที่มีอยู่ • ทำการปรับปรุงตารางโดย • เลือกตัวเลขที่มีค่าต่ำที่สุดและไม่ได้อยู่ในแนวเส้นตรงเป็นค่าปรับปรุงสมมติให้เท่ากับ X • หักค่า X ออกจากตัวเลขทุกตัวที่ไม่ได้อยู่ในแนวเส้นตรง • บวกตัวเลขที่อยู่ ณ จุดตัดของเส้นตรง 2 เส้นด้วยค่า X • กลับไปที่ขั้นตอนที่ 3 • ทำการกำหนดงานโดยการพิจารณาตำแหน่งที่มีเลข 0 คำนวณผลรวม เช่นค่าใช้จ่าย ต้นทุน รายได้ เวลาในการทำงาน ตามข้อมูลของปัญหานั้น

  17. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 1 ตรวจสอบจำนวนแถว = จำนวนสดมภ์

  18. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 2.1 หักค่าด้านแถวด้วยค่าต่ำสุดในแต่ละแถว

  19. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 2.2 หักค่าด้านสดมภ์ด้วยค่าต่ำสุดในแต่ละสดมภ์

  20. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 3 ลากเส้นตรงในแนวนอน หรือแนวตั้งให้ผ่านเลข 0 ทุกตัวโดยใช้เส้นน้อยที่สุด • จำนวนเส้นตรงน้อยกว่าจำนวนแถวแสดงว่าตารางยังไม่เหมาะสมให้ปรับปรุงตารางใหม่

  21. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 4 หาตัวเลขที่น้อยที่สุดที่ไม่ได้อยู่ในเส้น กำหนดให้เป็น X

  22. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 4 หาตัวเลขที่น้อยที่สุดที่ไม่ได้อยู่ในเส้น กำหนดให้เป็น X • นำ X ไปหักตัวเลขทุกตัวที่ไม่ได้อยู่ในเส้น

  23. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 4 หาตัวเลขที่น้อยที่สุดที่ไม่ได้อยู่ในเส้น กำหนดให้เป็น X • นำ X ไปหักตัวเลขทุกตัวที่ไม่ได้อยู่ในเส้น • นำ X ไปบวกตัวเลขที่อยู่ ณ จุดตัดของเส้นตรง 2 เส้น

  24. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ย้อนกลับไปที่ขั้นที่ 3 ลากเส้นตรงในแนวนอน หรือแนวตั้งให้ผ่านเลข 0 ทุกตัวโดยใช้เส้นน้อยที่สุด • จำนวนเส้นตรงเท่ากับจำนวนแถวแสดงว่าตารางยังเหมาะสมแล้ว

  25. 6.3 การแก้ปัญหาการกำหนดงานโดยวิธีฮังกาเรียน6.3.1 ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน • ขั้นที่ 5 ตำแหน่งที่เหมาะสมคือตำแหน่งที่มีเลข 0 กำหนดงานโดยใช้หลักการ One-to-One basis • กำหนดให้บริษัท กผลิตผ้าชนิดที่ 4 ราคา 16,000 บาท • กำหนดให้บริษัท ขผลิตผ้าชนิดที่ 3 ราคา 13,000 บาท • กำหนดให้บริษัท คผลิตผ้าชนิดที่ 1 ราคา 11,000 บาท • กำหนดให้บริษัท งผลิตผ้าชนิดที่ 2 ราคา 16,000 บาท

  26. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ถ้าจำนวนคนมากกว่า จำนวนงาน จะทำให้มีบางคนที่ไม่ได้งานทำหรือถ้ามีจำนวนคนน้อยกว่าจำนวนงาน จะทำให้มีงานบางงานที่ไม่มีคนทำ • ถ้าจำนวนคนและจำนวนงานไม่เท่ากันให้เติมคนหรืองานเพิ่มเข้าไปเพื่อให้มีจำนวนคนและงานเท่ากัน โดยกำหนดให้มีค่าใช้จ่ายหรือผลประโยชน์ที่ได้รับจากคนสมมติหรืองานสมมติที่เพิ่มเข้าไปเป็น 0

  27. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.2 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึ่งรับงานจากลูกค้า 3 ราย เพื่อปรับปรุงและซ่อมแซมอาคาร โดยบริษัทมีวิศวกรทั้งหมด 4 คน ซึ่งสามารถทำงานให้กับลูกค้าทั้ง 3 ราย บริษัทต้องการหาวิศวกรเพื่อไปควบคุมงานของลูกค้าแต่ละราย โดยกำหนดให้มีวิศวกรแต่ละคนรับผิดชอบโครงการของลูกค้าเพียงรายเดียวเท่านั้น ค่าใช้จ่ายวิศวกรแต่ละคนใช้ในการรับผิดชอบโครงการแต่ละรายเป็นดังตาราง(พันบาท)

  28. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน

  29. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน

  30. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน

  31. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน

  32. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน

  33. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน

  34. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานทั้ง 3 โครงการเท่ากับ 120,000+140,000+100,000=360,000 บาท

  35. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  36. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  37. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  38. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  39. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  40. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  41. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  42. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  43. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  44. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.3 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริษัทเดิมรับงานจากลูกค้า 5 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังแสดงในตาราง(พันบาท)

  45. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานทั้ง 3 โครงการเท่ากับ 120,000+100,000+120,000+130,000=470,000 บาท

  46. 6.5 กรณีปัญหาการกำหนดงานที่ต้องการค่าเป้าหมายสูงสุด • ในกรณีที่ต้องการใช้วิธีการฮังกาเรียนหาค่ากำไรสูงสุดหรือ รายได้สูงสุด ใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบเดียวกับการแก้ปัญหาการขนส่งกรณีที่ข้อมูลเป็นรายได้ หรือกำไร ในการจัดส่งสินค้า • โดยการปรับข้อมูลให้อยู่ในรูปค่าเสียโอกาส หรือใช้วิธีการคูณตัวเลขทุกตัวในตารางด้วย (-1) และคำนวณตามขั้นตอนดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น

  47. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.4 ในการพิจารณาปรับเลื่อนตำแหน่งผู้จัดการโรงงานของบริษัทแห่งหนึ่งที่มีโรงงาน 4 แห่ง มีพนักงานที่มีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้จัดการโรงงานได้ 4 คน ผู้บริหารได้พิจารณาความเหมาะสมในการเป็นผู้จัดการแต่ละโรงงานของพนักงานแต่ละคน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติต่างๆเช่น คุณวุฒิ วัยวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ และสรุปเป็นคะแนน 0-100 คะแนน คะแนนความเหมาะสมของพนักงานแต่ละคนแสดงได้ดังในตาราง

  48. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.4 ในการพิจารณาปรับเลื่อนตำแหน่งผู้จัดการโรงงานของบริษัทแห่งหนึ่งที่มีโรงงาน 4 แห่ง มีพนักงานที่มีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้จัดการโรงงานได้ 4 คน ผู้บริหารได้พิจารณาความเหมาะสมในการเป็นผู้จัดการแต่ละโรงงานของพนักงานแต่ละคน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติต่างๆเช่น คุณวุฒิ วัยวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ และสรุปเป็นคะแนน 0-100 คะแนน คะแนนความเหมาะสมของพนักงานแต่ละคนแสดงได้ดังในตาราง

  49. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.4 ในการพิจารณาปรับเลื่อนตำแหน่งผู้จัดการโรงงานของบริษัทแห่งหนึ่งที่มีโรงงาน 4 แห่ง มีพนักงานที่มีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้จัดการโรงงานได้ 4 คน ผู้บริหารได้พิจารณาความเหมาะสมในการเป็นผู้จัดการแต่ละโรงงานของพนักงานแต่ละคน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติต่างๆเช่น คุณวุฒิ วัยวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ และสรุปเป็นคะแนน 0-100 คะแนน คะแนนความเหมาะสมของพนักงานแต่ละคนแสดงได้ดังในตาราง

  50. 6.4 กรณีจำนวนแถวนอนและแถวตั้งไม่เท่ากัน • ตัวอย่างที่ 6.4 ในการพิจารณาปรับเลื่อนตำแหน่งผู้จัดการโรงงานของบริษัทแห่งหนึ่งที่มีโรงงาน 4 แห่ง มีพนักงานที่มีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้จัดการโรงงานได้ 4 คน ผู้บริหารได้พิจารณาความเหมาะสมในการเป็นผู้จัดการแต่ละโรงงานของพนักงานแต่ละคน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติต่างๆเช่น คุณวุฒิ วัยวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ และสรุปเป็นคะแนน 0-100 คะแนน คะแนนความเหมาะสมของพนักงานแต่ละคนแสดงได้ดังในตาราง

More Related