1 / 56

การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ธันวาคม 2550

การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ธันวาคม 2550. ความเข้าใจเกี่ยวกับ การบริหารผลการปฏิบัติงาน. การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นเรื่องใหม่ถอดด้าม ไม่ใช่ เรื่องใหม่สำหรับ ข้าราชการพลเรือน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน

Download Presentation

การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ธันวาคม 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ธันวาคม 2550

  2. ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน • การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นเรื่องใหม่ถอดด้าม ไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับข้าราชการพลเรือน • การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน

  3. ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน • การบริหารผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด (KPIs) เป็นเพียง ก็คือ KPIs เครื่องมือสำหรับการบริหารผล การปฏิบัติงาน . การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน เน้นที่การลงโทษมุ่งเน้นที่การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานมากกว่าการลงโทษ

  4. ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน • การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน มอบหมายให้ไปไปทำเอกสาร ในองค์กรภาครัฐ ต้องอาศัย มาก็เสร็จแล้ว ระยะเวลา และกระบวนการ ในการสร้างการยอมรับ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นต่อข้าราชการ ในทุกระดับ

  5. องค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานองค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ผลสัมฤทธิ์หลัก (KEY RESULT AREA: KRA) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KEY PERFORMANCE INDICATOR : KPI)

  6. องค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานองค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน สมรรถนะที่คาดหวัง เป้าหมายในด้านอื่นๆ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับงานตามภารกิจและตำแหน่งหรืองานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ สอดคล้องกับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร ผลสัมฤทธิ์หลัก-KRA ตัวชี้วัด-KPI ค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก-KRA ตัวชี้วัด-KPI ค่าเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับที่กำหนด

  7. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นการประเมินเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่าผลการปฏิบัติงานเป็นอย่างไร อยู่ในระดับใด เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำคัญประกอบการพิจารณาด้านต่าง ๆ เช่น  การให้รางวัลหรือการให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม  การปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน วิธีการทำงาน  เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงาน

  8. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน มาจาก หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการปัจจุบัน ตามหนังสือ สำนักงาน ก.พ. ที่ นรา 0708.1/ ว 5 ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2544 มุ่งเน้นความสำคัญของวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน เมื่อสิ้นสุดของการประเมินเท่านั้น ไม่สามารถระบุความเชื่อมโยงระหว่างผลการปฏิบัติงาน ระดับบุคคล และผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่สามารถระบุความแตกต่างระหว่างผู้ปฏิบัติงานได้อย่างโปรงใสและเป็นธรรม ไม่มีหลักฐานผลการปฏิบัติงานจริงที่เกิดขึ้น วิธีการ / แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ขาดความยืดหยุ่น ในการปรับใช้ให้เหมาะสมกับ พันธกิจ และลักษณะงานของแต่ละหน่วยงาน

  9. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • มิใช่กระบวนการหลักที่จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน • แต่เป็นองค์ประกอบ หนึ่ง ในกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานขององค์กร ในการสร้างเป้าหมายการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกัน • ส่งเสริมให้ข้าราชการได้รับการพัฒนา และใช้สมรรถนะอย่างสัมฤทธิผล • สามารถวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจนและโปร่งใสมากขึ้น 3

  10. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • เป็นกระบวนการประเมินและให้ค่าของผลการปฏิบัติงานของแต่ละคนในช่วงเวลาที่กำหนด • ผู้บังคับบัญชา ประเมินผลจากข้อมูลจริง เทียบกับ เป้าหมายการปฏิบัติงาน ที่ได้ตกลงกันไว้ เมื่อเริ่มรอบการประเมิน • เป็นการประเมินเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่า ผลการปฏิบัติงานเป็นอย่างไร 4

  11. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชา ใช้การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยนำ ผล การประเมินใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาด้านต่าง ๆ • การเลื่อนขั้นเงินเดือน การให้รางวัลประจำปีและค่าตอบแทนอื่น ๆ • การพัฒนาและปรับปรุง แก้ไข การปฏิบัติงาน • การแต่งตั้ง/โยกย้ายข้าราชการ • การให้ออกจากราชการ • การให้รางวัลจูงใจ และ การบริหารงานบุคคล เรื่องอื่นๆ ฯลฯ 5

  12. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินจาก 2 ส่วน 1. ผลสำเร็จของงาน - ความสำเร็จของงานตามยุทธศาสตร์ - งานภารกิจ ซึ่งเป็นงานประจำปีของส่วนราชการ - งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา - งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ไปปฏิบัติในฐานะสมาชิกทีมงาน / คณะทำงาน ซึ่งไม่ใช่งานประจำของหน่วยงานต้นสังกัด การประเมินผลสำเร็จของงานจริง - เป็นการประเมินความสำเร็จของงาน เปรียบเทียบ ตามแบบการปฏิบัติงานที่วางไว้เมื่อเริ่มรอบการประเมิน 6

  13. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมิน ผลสำเร็จของงานพิจารณาจากองค์ประกอบ ดังนี้ - ปริมาณงาน - คุณภาพของงาน - ความทันเวลา - การประหยัด หรือ คุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร - ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ 7

  14. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.สมรรถนะ (Competency) / คุณลักษณะในการปฏิบัติงาน - คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจาก ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร สมรรถนะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมรรถนะหลัก (Core competency) 2. สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional competency) การประเมินสมรรถนะ/ คุณลักษณะในการปฏิบัติที่แสดงจริง เป็นการประเมินพฤติกรรมที่แสดงจริงของผู้ปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับระดับที่กำหนด ไว้ตามระดับของข้าราชการ และลักษณะของงานตามที่หน่วยงานกำหนดไว้ 8

  15. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมิน สมรรถนะ / คุณลักษณะพิจารณาจากองค์ประกอบ ดังนี้ 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. จริยธรรม 3. ความร่วมแรง ร่วมใจ 4. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 5. บริการที่ดี 6. การวางแผนและการจัดระบบงาน 7. ความเป็นผู้นำ 8. การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา สมรรถนะหลัก ( Core- Competency )ของข้าราชการพลเรือน 9

  16. การกำหนดสัดส่วนคะแนนประเมินการกำหนดสัดส่วนคะแนนประเมิน กำหนดคะแนนในการประเมน 100 คะแนน แบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี้ ผลงาน กำหนดให้มีสัดส่วน ร้อยละ 70 คุณลักษณะ / สมรรถนะ ” ร้อยละ 30 ผลการประเมิน เกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือน แบ่งเป็น 5 ระดับ 1. ระดับ ดีเด่น ร้อยละ 90-100 2. ระดับ ดีมาก ร้อยละ 80 – 89 3. ระดับ ดี ร้อยละ 70 – 79 4. ระดับ พอใช้ ร้อยละ 60 - 69 5. ระดับ ต้องปรับปรุง ร้อยละ ต่ำกว่า 60 อยู่ในเกณฑ์เลื่อนขั้นเงินเดือน 1 ขั้น อยู่ในเกณฑ์เลื่อนขั้นเงินเดือน 0.5 ขั้น ไม่สมควรเลื่อนขั้นเงินเดือน 10

  17. ระยะเวลาของการประเมินระยะเวลาของการประเมิน การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมิน ตามรอบปีงบประมาณ แบ่งเป็น 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 31 มีนาคม ของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน ของปีเดียวกัน 11

  18. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรมชลประทาน 1. แบบ ชป. 390 ( แบบ ชป 365 เดิม) 2. แบบ ชป. 390/1 ( เพิ่มใหม่ ) 12

  19. ผลงาน ปริมาณงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ ผลงาน ปริมาณงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ เปรียบเทียบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ชป 365 ชป 390 13

  20. คุณลักษณะการปฏิบัติงานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน การวางแผนและการจัดระบบงาน ความเป็นผู้นำ การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ความรับผิดชอบและความอุตสาหะ ความสามารถในการปฏิบัติงาน การรักษาวินัย การปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการ คุณลักษณะการปฏิบัติงาน / สมรรถนะ การวางแผนและการจัดระบบงาน ความเป็นผู้นำ การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา การมุ่งผลสัมฤทธิ์ จริยธรรม ร่วมแรง ร่วมใจ สั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ บริการที่ดี เปรียบเทียบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ชป 365 ชป 390 สมรรถนะ Core-competency 14

  21. แบบ ชป.390/1 • เป็นแบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่กำหนดเพิ่มจากแบบ ชป.390 • เป็นการประเมินผลสำเร็จของงานจริงเทียบกับผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง • เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา • กำหนดองค์ประกอบสำคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงาน • 1. กำหนดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน • 1.1 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ - หมายถึง เป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นเหตุแห่งความสำเร็จของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร • 1.2 เป้าหมายด้านอื่น ๆ - หมายถึง เป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่มาจากภารกิจและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและตำแหน่งที่รับผิดชอบรวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ • 2. มีผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas :KRAs) ซึ่งมีตัวชี้วัดเป้าหมายในการประเมิน 15

  22. ผลสัมฤทธิ์หลัก(Key Result Areas :KRAs) ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs)คือ ผลผลิต หรือผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานหรือเป็นสิ่งที่ผู้บังคับบัญชาต้องการจากผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละงานมากที่สุด เพราะฉะนั้นหากการปฏิบัติงานแล้ว ไม่สามารถทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการได้ แสดงว่าการปฏิบัติงานครั้งนั้นไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 16

  23. ตัวชี้วัด ( Key Performance Indicator : KPIs ตัวชี้วัด(KPIs) เป็นดัชนีหรือ หน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของงาน และสามารถแยกแยะความแตกต่างของผลการปฏิบัติงานได้ ดังนั้น ตัวชี้วัดต้องใช้คำขึ้นต้นเป็นหน่วยวัดเสมอ เช่น ร้อยละ / จำนวน / ระดับ เป็นต้น การกำหนดตัวชี้วัดต้องให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas:KRAs) ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึง ผลที่ได้รับตามมา(outcome) หรือผลผลิต(Output) 17

  24. การกำหนดตัวชี้วัด การกำหนดตัวชี้วัด พิจารณาจาก SMARTชัดเจน (Specific) วัดได้ ( Measurable)บรรลุได้ (Attainable) สอดคล้อง ( Relevant) ความทันเวลา( Time – related ) ข้อพึงระวังในการกำหนดตัวชี้วัด • มีความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล • ต้องมีปริมาณของตัวชี้วัดที่เหมาะสม • ความท้าทาย และนำไปสู่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน • ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ 18

  25. ประเภทของตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานประเภทของตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน • ด้านคุณภาพ (Quality) เช่น ข้อร้องเรียน ความพึงพอใจของลูกค้า • ด้านปริมาณ(Quantity) เช่น จำนวนหน่วยที่ผลิต จำนวนโครงการที่สำเร็จ ปริมาณการให้บริการ • ด้านเวลา (Timeless) เช่น งานเสร็จตามวันครบกำหนด งานเสร็จภายในรอบเวลา • ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน(Cost Effectiveness) เช่น จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ 19

  26. ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลผลิต (Output) กระบวนการทำงาน(Process) ประเภทของตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับข้าราชการในแต่ละระดับ ผู้บริหารองค์กร • ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลลัพธ์ (Outcome) • ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลลัพธ์ (Outcome) หัวหน้า ผลผลิต (Output) ผู้ปฏิบัติงาน 20

  27. ผลลัพธ์ (Outcome) ผลผลิต (Output) กระบวนการทำงาน (Process) • ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ • จำนวนหน่วยงานที่ปฏิบัติตามนโยบายที่กำหนด • จำนวนรายงานที่จัดทำแล้วเสร็จในเวลาที่กำหนด • ร้อยละของหลักสูตรที่สามารถจัดอบรมตามแผน • จำนวนวันที่ใช้ในการดำเนินการเฉลี่ย • ร้อยละของเอกสารที่จัดส่งได้อย่างถูกต้อง 21

  28. เป้าหมาย (Target) หมายถึง ตัวเลข เป้าหมายตามหน่วยวัดที่ตัวชี้วัดกำหนดไว้ ซึ่งการกำหนดเป้าหมาย แบ่งเป็น 3 ระดับ เพื่อความชัดเจน ในการติดตาม และประเมินผล ระดับ 3 หมายถึง ผลสำเร็จเกินเป้าหมาย ระดับ 2 หมายถึง ผลสำเร็จตามเป้าหมายระดับ 1 หมายถึง ผลสำเร็จต่ำกว่าเป้าหมาย 22

  29. บทบาทของผู้อำนวยการสำนัก/กองไปจนถึงผู้อำนวยการกลุ่ม/ส่วน/ฝ่ายตลอดจนผู้บังคับบัญชาในการบริหารผลการปฏิบัติงานบทบาทของผู้อำนวยการสำนัก/กองไปจนถึงผู้อำนวยการกลุ่ม/ส่วน/ฝ่ายตลอดจนผู้บังคับบัญชาในการบริหารผลการปฏิบัติงาน • ทำความเข้าใจในเป้าหมายการปฏิบัติงาน และตัวชี้วัดขององค์กรที่ตนเกี่ยวข้อง รวมถึงเป้าหมายการปฏิบัติงานของตนเอง และหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ ซึ่งมาจากการตกลงกับผู้บังคับบัญชาที่เหนือขึ้นไป • ถ่ายทอดผลสำเร็จของงาน ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายลงไปเป็นผลสำเร็จของงาน โดยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการปฏิบัติงานของตน หน่วยงานรวมทั้งองค์กร โดยร่วมตั้งกับผู้ใต้บังคับบัญชา • ร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาในการวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น โดยการเสริมสร้างสิ่งที่เป็นจุดเด่นตามความเหมาะสม • ติดตามการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการปฏิบัติงานของตนเอง ส่วนงานที่ตนรับผิดชอบและติดตามการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาตามเวลาที่กำหนด โดยอาจสอนงานหรือให้คำแนะนำให้กำลังใจผู้ใต้บังคับบัญชาตามความจำเป็น • ประเมินผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาตามที่ได้ตกลงกันไว้ในเบื้องต้น 23

  30. ข้อควรระวัง • ในการประเมินผลการปฏิบัติงานและการประเมินสมรรถนะ / คุณลักษณะในการ • ปฏิบัติงาน มีข้อควรระวัง • ต้องเข้าใจวัตถุประสงค์ของการประเมิน • ต้องกำหนดเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจนและต้องมีการชี้แจงให้ทุกคนได้รับรู้ก่อนประเมิน • ต้องนำระบบการประเมินไปใช้ควบคู่กับการบริหารงานและทำจนเป็นเรื่องปกติ • ผลของการประเมินต้องเน้นให้เกิดทางบวกมากกว่าทางลบ • ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจของผู้ถูกประเมินก่อนเริ่มการประเมิน • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องมีความยุติธรรมให้ข้อมูลที่เป็นจริง ต้องไม่มีอคติต่อ • ผู้ถูกประเมิน 24

  31. ชื่อและนามสกุลของผู้เข้ารับการประเมินชื่อและนามสกุลของผู้เข้ารับการประเมิน ชื่อตำแหน่งของผู้เข้ารับการประเมิน อัตราเงินเดือนของผู้เข้ารับการประเมิน ณ วันที่ทำข้อตกลงประเมินผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่ 1หมายถึง ระยะเวลา 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป 2 4 5 1 3 7 6 สังกัดของผู้เข้ารับการประเมิน(ฝ่าย/กลุ่ม/ส่วน/โครงการ/สำนัก/กอง ครั้งที่ 2หมายถึง ระยะเวลา 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน ระดับตำแหน่งผู้เข้ารับการประเมิน ชื่อและนามสกุลผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ชื่อตำแหน่งของผู้ประเมิน

  32. ตัวชี้วัดให้กำหนดเป็นระดับความสำเร็จของงานหรือจำนวนรายการผลผลิตของงานแล้วแต่ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินจะกำหนดร่วมกันตัวชี้วัดให้กำหนดเป็นระดับความสำเร็จของงานหรือจำนวนรายการผลผลิตของงานแล้วแต่ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินจะกำหนดร่วมกัน ความสอดคล้องของตัวชี้วัด (ช่องที่ 9) ของโครงการ/กิจกรรม/การดำเนินงานที่ได้รับมอบหมายต่อยุทธศาสตร์ของกรม/ภารกิจของหน่วยงาน 14 15 16 8 9 10 11 เป้าหมาย หรือผลสำเร็จของงานที่คาดหวังกำหนดโดยแบ่งสัดส่วนความสำเร็จของงานเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับ 3หมายถึง ผลสำเร็จของงานเกินกว่าเป้าหมาย ระดับ 2หมายถึง ผลสำเร็จของงานบรรลุเป้าหมาย ระดับ 1หมายถึง ผลสำเร็จของงานต่ำกว่าเป้าหมาย ผลสำเร็จของงานตามที่คาดหวังซึ่งผู้ประเมินและผู้รับการประเมินจะกำหนดหรือตกลงร่วมกันตามแผนปฏิบัติงานประจำปีหรือตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 12 13 ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ลงลายมือชื่อในข้อตกลงผลสำเร็จของงานตามเป้าหมายที่กำหนดร่วมกัน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบข้อตกลงผลสำเร็จของงานตามเป้าหมายที่กำหนดร่วมกัน

  33. ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน)      คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20

  34. ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน)      คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20

  35. ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน)      คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20

  36. ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน)      คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20

  37. ตัวอย่างการกรอก แบบ ชป.390/1 ตำแหน่งนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

  38. ผลสำเร็จของงานที่คาดหวังผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง 1. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) ระดับความสำเร็จของการจัดโครง- การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ แผนงานรองรับตามคำรับรองของ สพบ. 2 2. การจัดทำแผนปฏิบัติงานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการกรมชลประทาน 2 ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เข้าใจข้อตกลงของงานตามเป้าหมายของงานข้างต้นและเห็นพ้องต้องกัน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (13)ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) วันที่........เดือน....................พ.ศ............. (12)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) วันที่........เดือน....................พ.ศ.............

  39. ผลสำเร็จของงานที่คาดหวังผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง 3. การติดตามผลการปฏิบัติงาน จำนวนรายงานผลการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ภารกิจของหน่วยงาน (ด้าน...............) 2 4. การประเมินผลโครงการฝึกอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติงาน จำนวนรายงานการประเมินผลโครงการ ภารกิจของหน่วยงานตามแผนปฏิบัติงาน 2 ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เข้าใจข้อตกลงของงานตามเป้าหมายของงานข้างต้นและเห็นพ้องต้องกัน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (13)ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .............................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. (12)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .................................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. นางสาวเก่ง ขยัน นายพิชิต อยู่นาน นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 ว นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 8 ว

  40. ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง 1. ได้ดำเนินการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ผลการดำเนินการฝึกอบรมได้รวบรวมข้อมูลที่ได้ร่วมกันจัดทำร่างแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) 15 20 10 9 15 69 2 2. แผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรประจำปีงบประมาณ 2550 15 20 10 9 15 69 2

  41. ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง 3.รายงานการติดตามผลการดำเนินการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะ 15 20 10 6 11 62 2 4. รายงานการประเมินผลโครงการ 15 10 10 5 8 48 2 60 70 40 29 49 248 10 7.50 15 17.5 12.25 62

  42. (19)ความเห็นของผู้ประเมิน ด้านผลงาน (ระบบจุดเด่นและ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไข) ด้านวิธีการส่งเสริม / พัฒนา ...มีความมุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย มีความวิริยะ อุตสาหะ .....เสียสละในการทำงาน ตลอดจนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้เป็นอย่างดี...................................................................................................................................................................................................................................................................... .....เห็นสมควรส่งเสริมให้ได้เข้ารับการฝึกอบรมในระดับบริหารระดับกลาง ......และการวิเคราะห์การประเมินผลโครงการ เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ....ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น...................................................................... ....................................................................................................................... (21)ข้าพเจ้ารับทราบผลการประเมินผลงานตามข้อตกลงข้างต้น (20)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง ................................................... วันที่........เดือน....................พ.ศ............. ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง ................................................... วันที่........เดือน....................พ.ศ............. นายพิชิต อยู่นาน นางสาวเก่ง ขยัน นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 8 ว นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 ว หมายเหตุ(10) เป้าหมายแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ 3 หมายถึง ผลสำเร็จของงานเกินกว่าเป้าหมายระดับ 2 หมายถึง ผลสำเร็จของงานบรรลุเป้าหมาย ระดับ 1 หมายถึง ผลสำเร็จของงานต่ำกว่าเป้าหมาย การประเมินผลสำเร็จของงานจริงคิดเป็นคะแนนรวม ดังนี้ ดีเด่น (ร้อยละ 100) คิดเป็นคะแนน 70 คะแนนดีมาก (ร้อยละ 90 ขึ้นไป) ” 63-69 คะแนน ดี (ร้อยละ 70-89) ” 49-62 คะแนน พอใช้ (ร้อยละ 60-69) ” 42-48 คะแนน ต้องปรับปรุง (น้อยกว่าร้อยละ 60) ” น้อยกว่า 42 คะแนน

  43. ตัวอย่างการกรอก แบบ ชป.390/1 ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี

  44. ผลสำเร็จของงานที่คาดหวังผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง 1. ลดระยะเวลาการให้บริการ กระบวนการเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษจาก 8 วันทำการเป็น 4 วันทำการ ร้อยละของการลดระยะเวลาการให้บริการ (ร้อยละ 30-50) จาก 8 วันทำการเป็น 4 วันทำการ คำรับรองของผลการปฏิบัติราชการมิติที่ 3 ด้านประสิทธิ- ภาพของการปฏิบัติราชการ 2(4 วันทำการ) 2. ตรวจสอบใบสำคัญ ขอเบิกเงินค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจัดทำ PO และ ขบ.01 คำรับรองของผลการปฏิบัติราชการมิติที่ 3 ด้านประสิทธิ- ภาพของการปฏิบัติราชการ ระยะเวลา 1 วัน 2(1 วันทำการ) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เข้าใจข้อตกลงของงานตามเป้าหมายของงานข้างต้นและเห็นพ้องต้องกัน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (13)ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .............................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. (12)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .................................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. น.ส.เก่ง มานะดี นางทองดี แม่นยำ เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 7 เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 8 31 มีนาคม 2551 31 มีนาคม 2551

More Related