1 / 15

Business Computer Program Faculty of Management Science Muban Chombueng Rajabhat University

Business Computer Program Faculty of Management Science Muban Chombueng Rajabhat University. การยอมรับการใช้เทคโนโลยีอี เลิร์นนิ่ง : กรณีศึกษานักศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ หมู่บ้านจอมบึง. ดร . พนารัตน์ แสงวิจิตร. (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ

mostyn
Download Presentation

Business Computer Program Faculty of Management Science Muban Chombueng Rajabhat University

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Business Computer ProgramFaculty of Management ScienceMubanChombuengRajabhat University การยอมรับการใช้เทคโนโลยีอีเลิร์นนิ่ง: กรณีศึกษานักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ดร.พนารัตน์ แสงวิจิตร (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

  2. ลำดับการนำเสนอ 1 2 3 4 5 6 7 ผลการวิจัย / ข้อเสนอแนะ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย สารบัญ ขั้นตอนดำเนินการวิจัย ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย

  3. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 1 • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542หมวด 9 มาตรา 67 • “รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย” • นโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

  4. วัตถุประสงค์การวิจัย 2 • เพื่อศึกษาการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอีเลิร์นนิ่ง กรณีศึกษา นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

  5. กรอบแนวคิดการวิจัย 3 Figure 1 : Conceptual Framework in Adoption of e-Learning : A Case Study on Business Computer Program MubanChombuengRajabhat University

  6. ขอบเขตของการวิจัย 4 • กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ • ชั้นปีที่ 1 - 4 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ปีการศึกษา 2556 จำนวน 102คน • ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย • ตัวแปรต้น ได้แก่ เพศ , ชั้นปี , จำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เนต , • ประสบการณ์การใช้อีเลิร์นนิ่ง • ตัวแปรตาม ได้แก่ การรับรู้การใช้ประโยชน์ของอีเลิร์นนิ่ง, ความง่ายในการใช้งานอีเลิร์นนิ่ง, ความตั้งใจในการใช้อีเลิร์นนิ่ง

  7. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 5 • The Theory of Reasoned Action : TRA • The Theory of Planned behavior : TPB • The Technology Acceptance Model : TAM • The Diffusion of innovation theory : DOI • etc.

  8. The Technology Acceptance Model : TAM Figure 2 : Technology Acceptance Model (TAM) Davis.(1989). Theories used in research . Retrieved July,2013 , from http://www.istheory.yorku.ca/ Technologyacceptancemodel.htm

  9. ขั้นตอนดำเนินการวิจัยขั้นตอนดำเนินการวิจัย 6 เริ่มต้น A B แจกแบบสอบถาม ศึกษาปัญหา กำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย สร้าง/แก้ไขเครื่องมือการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูล/รายงานผล กำหนดปัญหาการวิจัย No ประสิทธิภาพ ของเครื่องมือ จบ No Yes ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง Yes B A

  10. ผลการวิจัย / ข้อเสนอแนะ 7 ตารางที่ 1 : สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศและประสบการณ์การใช้ e-Learning

  11. ตารางที่ 2 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามประสบการณ์การใช้ e-Learning และจำนวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เนต

  12. ตารางที่ 3 แสดงการยอมรับการใช้ e-Learningของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จำแนกตามรายด้าน (N=102)

  13. ผลการวิจัย / ข้อเสนอแนะ 7 1. นักศึกษามีการยอมรับการใช้ e-Learning อยู่ในระดับมากทุกด้าน ทั้งนี้อาจเนื่องจากนักศึกษามีความคุ้นเคยกับการใช้อินเทอร์เนต และมีจำนวนชั่วโมงที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ค่อนข้างมาก ประกอบกับผู้สอนให้ความสำคัญกับการใช้e-Learning ควบคู่กับการสอนชั้นเรียนปกติ ทำให้ผู้เรียนมีการยอมรับการใช้งานเพิ่มมากขึ้น 2. นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจมีจำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เนต เพิ่มมากขึ้นเมื่ออยู่ในระดับชั้นปีที่สูงขึ้น ดังนั้น หากมหาวิทยาลัยหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถให้บริการอินเทอร์เนตความเร็วสูง จะช่วยเพิ่มประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์และประสบการณ์การใช้ e-Learning มากขึ้น

  14. ผลการวิจัย / ข้อเสนอแนะ 7 3. การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยที่เก็บข้อมูลจากนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ซึ่งในอนาคต หากผู้สอนในสาขาอื่น ๆ มีการใช้ e-Learning มากขึ้น อาจช่วยทำให้การพัฒนา e-Learning ของมหาวิทยาลัยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  15. Acknowledgement Research fund of “Adoption of e-Learning : A Case Study on Business Computer Program, Muban Chombueng Rajabhat University”was given from Faculty of Management Science, and research fund of “e-Learning development” was given from Academic Resources and Information Technology, Muban Chombueng Rajabhat University. The researcher would like to express grateful thanks for the support. References • Davis.(1989). Theories used in research . Retrieved July,2013 , from http://www.istheory.yorku.ca/ Technologyacceptancemodel.htm • Fishbein, M., & Ajzen, I. (2010). Predicting and changing behavior: The reasoned action approach. New York: Psychology Press (Taylor & Francis). • Icek Ajzen(1991). The Theory of Planned Behavior. Retrieved July,2013, from http://xa.yimg.com /kq/groups/78997509/7 01520272/name/Oct+19+Cited+%231+Manage+THE+THEORY+OF+PLANNED+BEHAVIOR.pdf • National Education Act of B.E. (1999) Retrieved July,2013, fromhttp://www.moe.go.th/main2/plan/p-r-b42-01.htm. • Roger Clarke (1999). A Primer in Diffusion of Innovations Theory. Retrieved July,2013 , from http://www.rogerclarke.com/SOS/InnDiff.html

More Related