370 likes | 815 Views
R. I. S. K. การบริหารความเสี่ยง Risk Management. ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ด้านการประกันคุณภาพและการพัฒนาระบบราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. R. I. S. K. โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงขององค์กร. สภามหาวิทยาลัย. คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำมหาวิทยาลัย.
E N D
R I S K การบริหารความเสี่ยง Risk Management ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ด้านการประกันคุณภาพและการพัฒนาระบบราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
R I S K โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงขององค์กร สภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำมหาวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ค.ต.ง.) อธิการบดี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงมหาวิทยาลัย ฯ หน่วยตรวจสอบภายใน คณบดี / ผู้อำนวยการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ คณะ /สถาบัน /สำนัก
บทบาทความรับผิดชอบ: คณะกรรมการการบริหารความเสี่ยง • จัดทำร่างนโยบายการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย • กำหนดแนวทางการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงและการจัดการควบคุมภายใน • จัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยง • รวบรวม/ระบุ/วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยง • จัดทำแผนป้องกันหรือลดความเสี่ยง • เสนอมาตรการจัดการความเสี่ยง และการจัดการควบคุมภายใน • รายงานผลการบริหารความเสี่ยง เสนอต่ออธิการบดี • จัดทำรายงานการติดตามการประเมินผลการควบคุมภายใน (ตามระเบียบ คตง.ข้อ 6) ต่ออธิการบดี
R I S K ความเสี่ยง (Risk) คืออะไร โอกาส/เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่จะส่งผลกระทบ ทำให้เป้าประสงค์ของหน่วยงานเบี่ยงเบนไป หรือเกิดความไม่แน่นอนในการบริหารงาน อันอาจทำให้เกิดความเสียหายแก่องค์กร
ส่วนราชการต้องมีขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) คือ... R I S K • การกำหนดเป้าหมายการบริหารความเสี่ยง (Objective Setting) • การระบุความเสี่ยงต่างๆ (Event Identification) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง (Risk Response) • กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities) • ข้อมูลและการสื่อสารด้านบริหารความเสี่ยง (Information and Communication) • การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่างๆ (Monitoring)
R I S K ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมาย Objective Setting
R I S K การกำหนดวัตถุประสงค์ • การกำหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง • กำหนดจากวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กร • กำหนดจากเป้าหมายหลักองค์กรให้สอดคล้องกับภารกิจ • กำหนดจากเป้าหมายในระดับหน่วยงาน • กำหนดจากเป้าหมายของแผนงานโครงการและกิจกรรมที่ทำให้บรรลุเป้าหมายในระดับองค์กร วิสัยทัศน์/ภารกิจ เป้าหมายหลักองค์กร เป้าหมายของหน่วยงาน เป้าหมายของกิจกรรมและแผนงานโครงการ
R I S K ขั้นตอนที่ 2 การระบุและจำแนกความเสี่ยง Risk Identification
การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กรการระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กร R I S K • สำรวจว่ามีความเสี่ยงใดที่อาจทำให้การทำงานไม่ เป็นไปตามเป้าประสงค์ของส่วนราชการหรือหน่วยงาน • - ปัจจัยความเสี่ยงทั้งจากภายในและภายนอก • - เหตุการณ์ร้ายต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น • - การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอก • จำแนกความเสี่ยงนั้นๆ ว่าเกิดขึ้นในระดับใดและ เป็นความเสี่ยงประเภทใด (อาจใช้ตารางMatrix) • จัดทำ/เขียน Risk Statement ซึ่งระบุสาเหตุของความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น(What, Why and How Things can arise)
R I S K ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฏระเบียบ (Compliance Risk)
R I S K ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) • เกี่ยวข้องกับการบรรลุเป้าหมายและพันธกิจในภาพรวม • เป็นความเสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ภายนอก ส่งผลต่อกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ไม่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์/วิสัยทัศน์ • เกิดจากการกำหนดกลยุทธ์ที่ขาดการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์การอิสระ • เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจผิดพลาดหรือนำการตัดสินใจนั้นมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง
ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risk: O) R I S K • เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพ ประสิทธิผลหรือผลการปฏิบัติงาน • เป็นความเสี่ยงเนื่องจากระบบงานภายในขององค์การ/กระบวนการ/เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ใช้/บุคลากร/ความเพียงพอของข้อมูล ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินโครงการ
ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk: F) R I S K • เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณและการเงิน เช่น การบริหารการเงินไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ทาให้ขาดประสิทธิภาพ และไม่ทันต่อสถานการณ์ • เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเงินขององค์การ เช่น การประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอและไม่สอดคล้องกับขั้นตอนการดำเนินการ เป็นต้น • ขาดการจัดหาข้อมูล การวิเคราะห์ การวางแผน การควบคุม และการจัดทำรายงานเพื่อนำมาใช้ในการบริหารงบประมาณ และการเงินดังกล่าว
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk: C) R I S K • เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบต่าง ๆ โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจาก - ความไม่ชัดเจน - ความไม่ทันสมัย / ความล่าช้า - ความไม่ครอบคลุมของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ - รวมถึงการทำนิติกรรมสัญญา การร่างสัญญาที่ไม่ครอบคลุมการดำเนินงาน
R I S K หลักธรรมาภิบาลสากล ประสิทธิผล การตอบสนอง ประสิทธิภาพ ความโปร่งใส ความเสมอภาค/ความเที่ยงธรรม รับผิดชอบ กระจายอำนาจ การมุ่งเน้นฉันทามติ นิติธรรม การมีส่วนร่วม
R I S K ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment
R I S K การจัดทำแผนภูมิความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผลกระทบ ความน่าจะเป็น/โอกาส
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง(Likelihood)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง(Likelihood)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)
R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)
R I S K ขั้นตอนที่ 4 การจัดการความเสี่ยง Risk Responses
R I S K หลักการจัดการกับความเสี่ยง(Address Risk Responses) ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Pre-Event Control ลดผลกระทบของความเสี่ยง Post- Event Control Emerging Opportunity แสวงหาประโยชน์จากความเสี่ยง
4Ts of Risk Management R I 1.Take การยอมรับความเสี่ยง S K 2.Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง 4.Terminate การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 3.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง
หลักการจัดการกับความเสี่ยง(Addressing Risk Responses)
R I S K ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง Risk Management Plan
R I S K ขั้นตอนที่ 6 สารสนเทศและการสื่อสาร Information and Communication
R I S K ข้อมูลและการสื่อสารด้านการบริหารความเสี่ยง • ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการเงินและการดำเนินงานต่างๆ มีความครบถ้วนถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทันเวลา และเป็นปัจจุบัน • สื่อสารภายในและภายนอกหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ • บนลงล่าง • ล่างขึ้นบน • แนวราบ • ช่องทางการสื่อสาร • เว็บไซต์ของสถาบัน • หนังสือเวียน • การประชุมชี้แจงโดยผู้บริหาร • การอบรบรม
R I S K ขั้นตอนที่ 7 การรายงานและการทบทวนการบริหารความเสี่ยง Risk Management Review, Report & Presentation
การทบทวนและการรายงานเกี่ยวกับความเสี่ยงการทบทวนและการรายงานเกี่ยวกับความเสี่ยง Reviewing and Reporting Risks R I S K • เพื่อติตามว่ารูปแบบของความเสี่ยง (Risk Profile) เปลี่ยนแปลงหรือไม่ • เพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงนั้นได้ผลจริง หากพบปัญหาก็จะได้หามาตรการใหม่/ใช้มาตรการสำรองเพื่อจัดการกับความเสี่ยง • เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการทบทวน : • Risk Self Assessment (RSA) • Stewardship Reporting: ผู้บริหารแต่ละระดับรายงานการบริหารความเสี่ยงของตนในสถานการณ์ต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไป ขึ้นไปยังหน่วยเหนือ (Upward Reporting)
R I S K ท่านบรรลุเป้าประสงค์ต่อไปนี้ หรือยัง ?? • เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารความเสี่ยง • เข้าใจและระบุ/จำแนกความเสี่ยงในส่วนราชการได้ • เข้าใจและประเมินความเสี่ยงในส่วนราชการได้ • จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานได้
ขอขอบคุณ R I S K การบริหารความเสี่ยง ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ด้านการประกันคุณภาพและการพัฒนาระบบราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม