1 / 38

FROG – EXTERNAL FEATURE, SKELETON AND MUSCLE

FROG – EXTERNAL FEATURE, SKELETON AND MUSCLE . กบ ( FROG ). กบเป็นสัตว์ที่แพร่กระจายทั่วโลกแต่มีมากในเขตร้อน กบมีลักษณะผิวหนังเรียบลื่นและเปียกชื้น สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบกและสามารถปรับสีผิวให้กลมกลืนไปกับธรรมชาติเพื่อป้องกันตัว

mele
Download Presentation

FROG – EXTERNAL FEATURE, SKELETON AND MUSCLE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. FROG – EXTERNAL FEATURE, SKELETON AND MUSCLE

  2. กบ ( FROG ) • กบเป็นสัตว์ที่แพร่กระจายทั่วโลกแต่มีมากในเขตร้อน กบมีลักษณะผิวหนังเรียบลื่นและเปียกชื้น สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบกและสามารถปรับสีผิวให้กลมกลืนไปกับธรรมชาติเพื่อป้องกันตัว • กบบางชนิดมีขนาดใหญ่มาก เช่น Bull frog ตัวยาวจากหัวไปจนถึงปลายขาประมาณ 20 เซนติเมตร กระโดดได้ไกล 2-3 เมตร และมีเสียงร้องดังมาก

  3. ภาพ Bull frog

  4. ลักษณะภายนอกของกบ

  5. ผิวหนัง • ผิวหนังกบมีหน้าที่ในการป้องกันตัวโดยการปรับสีให้กลืนกับที่อยู่เมื่อพรางตัวและมีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ผิวหนังด้วย ( cutaneous respiration ) • ผิวหนังกบไม่ได้ติดกับกล้ามเนื้อจึงเป็นชั้นที่ลอกออกได้ง่ายมีเพียงเนื้อเยื่อเกี่ยวพันสองข้างตัวเป็นเยื่อบางยึดติดอยู่ ผิวหนังมีเส้นเลือดฝอยกระจายอยู่มากเห็นได้จากผิวหนังด้านใน ด้านนอกมีรงควัตถุสีน้ำตาลเข้มหรือสีดำอยู่ภายในเซลล์พิเศษคือโครมาโทเฟอร์( chromatophore) หรือเซลล์รงควัตถุ ( pigment cell ) เซลล์เหล่านี้ส่วนใหญ่อยู่ในผิวหนังชั้นเดอร์มิส

  6. ระบบโครงร่าง

  7. Appendicular skeleton Axial skeleton Skull Pectoral girdle Sternum Fore limb Vertebral column Hind limb Pelvic girdle

  8. Nasal Maxilla Sphenethmoid Frontoparietal Pterygoid Squamosal Exoccipital Occipital condyle Pro-otics Foramen magnum Quadratojugal

  9. premaxilla vomer palatine Y parasphenoid pterygoid

  10. กระดูกขากรรไกรล่าง

  11. แท่งกระดูกสันหลัง (vertebral column) แท่งกระดูกสันหลังประกอบด้วย- กระดูกสันหลัง (vertebrae) 9 ข้อ - กระดูก urostyle เชื่อมต่อกันด้วย ลิกะเมนต์ (ligament)

  12. ลักษณะโดยทั่วไปของกระดูกสันหลังแต่ละข้อประกอบด้วยลักษณะโดยทั่วไปของกระดูกสันหลังแต่ละข้อประกอบด้วย neural arch prezygapophysis neural spine prezygapophysis Transverse process centrum dorsal posterior

  13. กระดูกสันหลังบางข้อมีลักษณะที่ต่างออกไป • กระดูกสันหลังข้อที่ 1คือ atlas ไม่มี transverse process และ prezygapophysisมีขนาดเล็กด้านหน้ามีแอ่งซึ่งจะสวมเข้ากับ occipital condyle ของกะโหลกศีรษะ • กระดูกข้อที่ 9คือ sacral มี transverse process ใหญ่และแข็งแรงต่อกับกระดูกเชิงกราน รอยต่อนี้ทำให้เกิดปุ่ม (hump) ทางด้านหลังเวลาดูจากภายนอก sacral ไม่มี postzygapophysis centrum นูนทั้งด้านหน้าด้านท้าย ด้านท้ายเป็นปุ่มสองปุ่มเกาะกับ urostyle

  14. กระดูกสันหลังบางข้อมีลักษณะที่ต่างออกไป • กระดูกข้อที่ 8 เนื่องจาก centrum ด้านหน้าของ sacral นูน ดังนั้นcentrum ของกระดูกข้อที่ 8 จึงเว้าทั้งหน้าและท้าย • กระดูกข้อที่ 2-7มีลักษณะปกติดังได้กล่าวมาแล้ว • urostyleเป็นกระดูกสันหลังต่อจากข้อที่ 9 มีหลายข้อมาเชื่อมติดกันเป็นกระดูกยาวชิ้นเดียวคือ urostyle

  15. กระดูกรองรับแขน (pectoral girdle) 1. clavicleเป็นกระดูกตามขวาง ชิ้นเล็กเรียวอยู่ด้านหน้าตั้ง ฉากกับmesosternum 2. coracoidเป็นกระดูกตามขวางชิ้นหนาอยู่ตอนท้ายตั้งฉากกับ mesosternum ปลายกระดูก coracoid กับ ciavicle เชื่อมต่อกัน 3.scapulaเป็นกระดูกที่ต่อมาจากปลาย coracoid และ clavicle เป็นกระดูกที่ตั้งฉากขึ้นไปทางด้านหลัง 4. suprascapulaเป็นแผ่นกระดูกอ่อนต่อจาก scapula

  16. กระดูกเชิงกราน (pelvic girdle) กระดูกเชิงกรานเป็นกระดูกบริเวณสะโพก ประกอบด้วย กระดูก 3 คู่ที่แบบและแนบติดกันตอนท้ายทำให้มีลักษณะเป็นรูปตัว V ได้แก่ iliumมีแขนง 2 แขนงตามแนวแกนของลำตัว ischiumเป็นกระดูกแบนประกอบกันแน่นอยู่ตอนท้ายของกระดูก pubisเป็นกระดูกทางด้านท้องระหว่าง ilium และ ischium ลักษณะกระดูกแผ่ออกคล้ายพัดกึ่งกลางของกระดูกมีลักษณะเป็นแอ่งรูปถ้วยประกอบด้วยขอบด้านในของกระดูกทั้งสามชิ้น

  17. กระดูกแขนและขา (fore limb and hind limb) กระดูกแขนขาประกอบด้วยกระดูกชิ้นต่างๆซึ่งเทียบเคียงกันได้และเปรียบเทียบกับกระดูกของคนเราได้ด้วย คือ ขาหน้า ขาหลัง กระดูดต้นแขนและต้นขา humerus femur กระดูกแขนและกระดุกแข้ง radioulna tibiofibula กระดูกข้อมือและข้อเท้า carpal tarsal กระดูกฝ่อมือ และฝ่าเท้า metacarpal metatarsal นิ้วมือและนิ้วเท้า phalange phalange

  18. ภาพ A. ขาหน้า B. ขาหลัง

  19. ระบบกล้ามเนื้อ (muscular system ) • กล้ามเนื้อมี 3 ชนิด • กล้ามเนื้อเรียบพบในอวัยวะภายใน • กล้ามเนื้อหัวใจ พบที่ผนังภายในของหัวใจ • กล้ามเนื้อลายเป็นกล้ามเนื้อที่เกาะกับโครงร่างซึ่งเป็นระบบ กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ โดยอยู่ในอำนาจ จิตใจ

  20. มัดกล้ามเนื้อ (belly ) มีสองปลาย คือ จุดต้น ( origin ) ซึ่งมักจะติดอยู่ที่กระดูกแกน จุดปลาย (insertion ) ซึ่งมักจะเกาะที่กระดูกรยางค์ เวลาที่กล้ามเนื้อทำงาน ปลายของกล้ามเนื้อที่เป็นจุดต้น (origin ) จะอยู่กับที่ ปลายที่หดเข้ามาคือจุดปลาย (insertion )

  21. กล้ามเนื้อท้องของกบ rectus abdominisเป็นกล้ามเนื้อกึ่งกลางด้านท้อง มีลักษณะเป็นรูปตัว U หัวกลับ กึ่งกลางของกล้ามเนื้อตามแนวแกนกลางตัวมีเส้นเอ็นสีขาวผ่าน เรียกว่า linea alba ( linea = เส้นตรง, alba = สีขาว )

  22. กล้ามเนื้อท้องของกบ obliquusexternusเป็นกล้ามเนื้อแผ่นบางอยู่ด้านข้างของลำตัว ระหว่างขาหน้าและขาหลัง ใยกล้ามเนื้อทแยงเฉียงจากด้านหลังมายังด้านท้อง transversusเป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ด้านในของ obliquusexternusเวลาดูจึงต้องฉีกกล้ามเนื้อแผ่นนอกออกโดยสังเกตดูลายกล้ามเนื้อที่ตัดกับ obliquusexternus

  23. กล้ามเนื้อขาหลัง กล้ามเนื้อขาหลังที่ศึกษามีสองส่วนคือ กล้ามเนื้อต้นขารอบfemurและกล้ามเนื้อแข้งรอบtibiofibulaดูกล้ามเนื้อต้นขาควรจะดูเป็นวงรอบกระดูกโดยเริ่มจากขอบด้านหน้าของขาขึ้นมายังด้านหลังและอ้อมกล้ามเนื้อด้านท้ายไปยังด้านท้องของขา

  24. กล้ามเนื้อต้นขารอบ femurและกล้ามเนื้อแข้งรอบtibiofibula

  25. ภาพตัดตามขวางแสดงกล้ามเนื้อต้นขาหลังที่เรียงตัวรอบกระดูก femur

  26. อุปกรณ์ เครื่องมือ เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือให้พร้อม • ชุดเครื่องมือผ่าตัด ถาดพาราฟิน ถุงมือ ผ้าปิดจมูก เข็มหมุด กระดาษทิชชู • ตรวจสอบความพร้อมในการใช้งาน วางอุปกรณ์เรียงให้เรียบร้อยใส่ถุงมือ สวมผ้าปิดจมูก • เตรียมอุปกรณ์บันทึกภาพหรือวีดิโอ

  27. ขั้นตอนวิธีการน๊อคกบ น๊อคกบโดยการใช้เข็มสำหรับการน๊อคแทงบริเวณหัวส่วนใกล้คอของกบ เพื่อทำให้เส้นประสาทรับความรู้สึกของกบไม่ทำงานแต่กบยังไม่ตาย(ถ้ากบยังดิ้นอยู่ควรน๊อกใหม่อีกครั้ง)

  28. ขั้นตอนวิธีการผ่ากบ 1. ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สีลำตัว หัว ปาก ตา ขา 2. นำกบที่จะศึกษาวางหงายบนถาดพาราฟิน กางแขน – ขา กบเพื่อที่จะตรึงด้วยเข็มหมุด ที่ฝ่ามือฝ่าเท้า

  29. ขั้นตอนวิธีการผ่ากบ 3. ใช้ปากคีม คีบหนังที่ท้องช่วงล่างขึ้นมา แล้วใช้กรรไกรตัดเป็นช่องเล็กๆ พอให้สอดกรรไกรเข้าไปในรู และตัดหนังกบไล่ขึ้นมาส่วนบน สังเกตผิวหนังกบจะแยกจากกล้ามเนื้อ และมีเส้นเลือดจำนวนมากมาเลี้ยงด้านใน ตัดหนังกบไล่ขึ้นมาส่วนบน

  30. 4. เมื่อเปิดชั้นผิวหนังกบแล้วให้ตรึงหนังกบ กางออกไปด้านข้าง แล้วพยายามซับเลือด หรือของเหลวออกไปโดยใช้สำลีวางไว้ข้างลำตัวกบ สามารถสังเกตเห็นเส้นสีขาว (linear alba) กลางลำตัวกบ ซึ่งด้านล่างของเส้นนี้จะเป็นเส้นเลือด ventral abdominal vein ซึ่งควรเลี่ยงการตัดขาด การผ่าตัดชั้นกล้ามเนื้อเพื่อเปิดช่วงตัว จึงขยับมาด้านข้างของเส้นกลางตัว

  31. 5.ศึกษากล้ามเนื้อส่วนต่างๆและโครงร่างของกบ5.ศึกษากล้ามเนื้อส่วนต่างๆและโครงร่างของกบ 6. หลังจากขั้นตอนที่5 ผ่าบริเวณเนื้อท้องดึงเนื้อให้อยู่บริเวณด้านข้างแล้วใช้เข็มหมุดปัก 7. ศึกษาอวัยวะภายในของกบ

  32. ขอบคุณค่ะ/ครับ

More Related