1 / 70

HA UPDATE 2010

HA UPDATE 2010. นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ผู้อำนวยการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ HA. Safety & Quality of Patient Care. Educational Process. Self Improvement. External Evaluation. Recognition. Not an inspection. Self Assessment.

marcie
Download Presentation

HA UPDATE 2010

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. HA UPDATE 2010 นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ผู้อำนวยการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

  2. แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ HA Safety & Quality of Patient Care Educational Process Self Improvement External Evaluation Recognition Not an inspection Self Assessment Hospital Accreditation (HA) คือกลไกประเมินเพื่อกระตุ้น ให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

  3. แนวคิดพื้นฐานของ Hospital Accreditation (HA) คุณภาพและความปลอดภัย กระบวนการ เรียนรู้ การพัฒนาตนเอง การประเมินจากภายนอก (เยี่ยมสำรวจ) การรับรองคุณภาพ การประเมินตนเอง วิธีการเรียนรู้และประเมินตนเอง -การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -การอภิปรายกลุ่ม -การเขียนบันทึกความก้าวหน้า และแบบประเมินตนเอง -การใช้ตัวตามรอยทางคลินิก -การเยี่ยมสำรวจ/ตรวจสอบภายใน -การนำเสนอเพื่อรับฟังข้อวิพากษ์ -การทบทวนหลังกิจกรรม -การติดตามตัวชี้วัด ตอบคำถามพื้นฐาน: -ทำไมต้องมีเรา -เราทำอะไร -ทำไปเพื่ออะไร -ทำได้ดีหรือไม่ -จะทำให้ดีขึ้นอย่างไร ค่านิยมและแนวคิดหลัก -HA เป็นกระบวนการเรียนรู้ -มุ่งเน้นผู้ป่วยและสุขภาพ -พัฒนาต่อเนื่อง

  4. เข้าใจ HA รอบด้าน : 4 มิติ 1) มิติของลำดับขั้นการพัฒนา : บันไดสามขั้นสู่ HA 2) มิติของพื้นที่การพัฒนา : กลุ่มของระบบย่อยในองค์กร 3) มิติของกระบวนการพัฒนา : 3C-PDSA / 3P 4) มิติของการประเมินผล

  5. การใช้มาตรฐานกับการพัฒนาที่เป็นลำดับขั้นการใช้มาตรฐานกับการพัฒนาที่เป็นลำดับขั้น บันไดขั้นที่ 2 บันไดขั้นที่ 1

  6. การพัฒนาในส่วนต่างๆ ของโรงพยาบาล หน่วยงาน กลุ่มผู้ป่วย Context Clinical Tracer Clinical QA/CQI Better outcome Context Service Profile QA/CQI Achieve Purpose ระบบงาน Safety Quality Holistic ER/WARD องค์กร Context Org. Profile Strategic Man. Achieve Mission Context SWOT/Standards QA/CQI Effective & Efficient System

  7. มิติกระบวนการประเมินผล: 3C - PDSA Internal Survey ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ความรับผิดชอบของวิชาชีพ Evidence-based Practice การเรียนรู้ ลักษณะผู้ป่วย ลักษณะงาน คุณค่าและความท้าทาย 8

  8. 3P : Basic Building Block ของคุณภาพ Purpose Process Performance จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร 3P ในงานประจำวัน 3P ในโครงการพัฒนาคุณภาพ 3P ในระดับหน่วยงาน (service profile) 3P กับการพัฒนาระบบงาน 3P กับการดูแลผู้ป่วย (clinical tracer) 3P กับการบริหารองค์กร (strategic management)

  9. แนวคิดสำคัญของกระบวนการ HA

  10. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล มิติของการประเมินผล > มุมมองทั่วไป: S (Study) ใน 3C-PDSA > มุมมอง HA: เพื่อให้ทราบความก้าวหน้า เกิดความมั่นใจ และโอกาสพัฒนา เกิดการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องไปข้างหน้า > การประเมินภายใน : ทำได้ง่าย ทำได้บ่อย หากทำด้วยความเข้าใจว่าเป็นการประเมินเพื่อให้กำลังใจและให้เห็นโอกาสพัฒนา จะเป็นกลไกสำคัญเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นรูปแบบของการเยี่ยมสำรวจเพียงอย่างเดียว > การประเมินจากภายนอก : สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดการรวมตัว ตั้งเป้าหมายระยะเวลาที่จะทำให้สำเร็จ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องยากๆ ได้ในเวลาที่ไม่นานเกินไป

  11. 6 QI Tracks & 4 Domains 1. Unit Optimization 2. Patient Safety 3. Clinical Population 4. Standard Implementation 5. Strategic Management 6. Self Assessment

  12. Track 1 : Unit Optimization แนวคิดพื้นฐาน คือการใช้ 3P หัวหน้าพาทำคุณภาพ กิจกรรมคุณภาพพื้นฐานต่างๆ ระบบข้อเสนอแนะ, 5ส., พฤติกรรมบริการสู่ความเป็นเลิศ, สุนทรียสนทนา, KM Service Profileเป็นเครื่องมือสำหรับวางแผนและติดตามการพัฒนาคุณภาพและการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน กิจกรรมทบทวนคุณภาพ เป็นกระจกส่องตัวเอง เป็นเครื่องมือในการหาโอกาสพัฒนา ควรเลือกสรรให้เหมาะสมกับแต่ละหน่วยงาน การพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน เชื่อมโยง Performance Management System 3P ในงานประจำ หัวหน้าพาทำคุณภาพ กิจกรรมคุณภาพพื้นฐาน ค้นหาความหมาย/ความเชื่อมโยงใน Service Profile CQI ทบทวนการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน กำหนดแผนการพัฒนาหน่วยงานเพิ่มเติม เชื่อมโยงกับระบบงานสำคัญ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

  13. หัวหน้าพาทำคุณภาพ: หมั่นถามกันเป็นประจำ พรุ่งนี้จะทำอะไรให้ดีขึ้น (continuous improvement) จะทำให้งานง่ายขึ้นอย่างไร จะทำให้เพื่อนของเราทำงานง่ายขึ้นอย่างไร (internal customer) จะเพิ่มคุณค่าให้ผู้รับผลงานของเราอย่างไร (external customer) เราทำหน้าที่ตามเป้าหมายของหน่วยงานสมบูรณ์หรือยัง

  14. Service Profile กรอบที่ใช้กำกับการพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละหน่วยในองค์กร หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concepts) ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการ ความคาดหวัง บริบท ความต้องการ ของผู้รับผลงาน ข้อกำหนด ทางวิชาชีพ จุดเน้น ขององค์กร ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ตัวชี้วัด Study Performance Purpose พันธกิจ/เจตจำนง (หน้าที่ & เป้าหมาย) Act Do วัตถุประสงค์ ปรับปรุง Process Plan กระบวนการหลัก ออกแบบระบบ โรค/หัตถการสำคัญ (เฉพาะบริการดูแลผู้ป่วย) ประเด็นย่อยในแต่ละ กระบวนการ/โรค

  15. วางแผนการตามรอย

  16. Track 2 : Patient Safety ทบทวนความครอบคลุมของกิจกรรมทบทวน ใช้ประโยชน์จากกิจกรรมทบทวน RCA, Standardized Work ตามรอย PSG: SIMPLE & Improve ทบทวน / วางระบบบริหารความเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง/ป้องกัน (หน่วยงาน/ระบบงาน) Trigger Tool บูรณาการข้อมูล & ระบบบริหารความเสี่ยง 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

  17. การทบทวนเพื่อค้นหาโอกาสพัฒนาการทบทวนเพื่อค้นหาโอกาสพัฒนา การทบทวนเวชระเบียน ประเมินผู้ป่วย Assessment จำหน่าย Discharge รับเข้า Entry วางแผน Planning ดูแลตามแผน Implementation ประเมินผล Evaluation การทบทวนข้างเตียง การทบทวนอื่นๆ การทบทวนคำร้องเรียนของผู้ป่วย การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ (เสียชีวิต ภาวะแทรกซ้อน) การค้นหาความเสี่ยง การทบทวนศักยภาพ (การส่งต่อ การตรวจรักษา) การติดเชื้อในโรงพยาบาล การใช้ยา การใช้ทรัพยากร การใช้ความรู้วิชาการ – gap analysis ตัวชี้วัด Care & Risk Communication Continuity & D/C plan Team work HRD Environment & Equipment Holistic Empowerment Lifestyle Prevention 18

  18. แปรเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีแปรเรื่องร้ายให้กลายเป็นดี Review Turning Point Cognitive Walkthrough Human Factor Engineering AE Report Trigger Prevention Build-in Quality Trace/R2R KA/SA Knowledge Asset Self Assessment

  19. มองทุกมุมอย่างไม่มีอคติมองทุกมุมอย่างไม่มีอคติ เมื่อมองในมุมมองของผู้ปฏิบัติงาน ขณะนั้นมีข้อจำกัดอะไร เมื่อมองย้อนหลัง เราเห็นจุดอ่อนหรือโอกาสพัฒนาอะไร เมื่อมองในมุมมองของการพัฒนา จะลดข้อจำกัดที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดการกระทำที่พึงจะเกิดขึ้นได้อย่างไร

  20. วิเคราะห์จุดเปลี่ยน • การวินิจฉัยสาเหตุของ jaundice เมื่อ day 4 อายุรแพทย์สงสัย obstructive jaundice ศัลยแพทย์คิดว่าเป็น fatty liver with hepatitis • การให้ definite diagnosis ว่าผู้ป่วยเป็น obstructive jaundice ให้เร็วขึ้น • การตัดสินใจว่าจะรักษาเองที่ รพท. หรือจะส่งต่อไป รพศ. • การดูแลระหว่าง รพศ. และ รพท. ในลักษณะ seamless • การวินิจฉัยสาเหตุ obstructive jaundice ระหว่าง GB tumor กับ CBD stone • การทำ ERCP ที่สนองตอบต่อสภาวะของผู้ป่วยได้เร็วยิ่งขึ้น

  21. Cognitive Walkthrough • เป็นการประยุกต์ใช้ usability inspection method เพื่อประเมินการออกแบบ user interface • แต่นำมาใช้เรียนรู้ความคิดและความรู้สึกของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยในจุดที่เราสนใจ • สร้างบรรยากาศที่ปลอดภัยและเปิดใจ ขอให้ผู้เกี่ยวข้องแต่ละคนบอกเล่าสิ่งต่อไปนี้ (บางข้อหรือทุกข้อก็ได้) • ความรู้สึก • ข้อมูลที่รับรู้และการแปลความหมายข้อมูล • ข้อจำกัด และความห่วงกังวล • ความต้องการ วางแผนว่าจะไปพูดคุยอย่างเปิดใจกับใคร ในประเด็นใดบ้าง

  22. Human Factor Engineering • Design of • labeling • warning or alarm • software program • information display • paper forms • process/activity flow • workplace • training/education • cognitive aids • decision support systems • policies and protocols จะใช้ HFE ในการปรับปรุงการดูแลผู้ป่วย multiple injury อย่างไร

  23. นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “Patient Safety is Simple”รพ.จุฬาลงกรณ์ 25 กุมภาพันธ์ 2552

  24. นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “Patient Safety is Simple”รพ.จุฬาลงกรณ์ 25 กุมภาพันธ์ 2552

  25. Patient Safety Goals / Guides : SIMPLE SSI Prevention Safe Anesthesia Correct Procedure at Correct Site Surgical Safety Checklist Safe Surgery Hand Hygiene Prevention of CAUTI, VAP, Central line infection Infection Control Safe from ADE, conc e’lyte, High-Alert Drug Safe from medication error, LASA Medication Reconciliation Tackling antimicrobial resistance Blood Safety Medication & Blood Safety Patient Identification Communication (SBAR, handovers, critical test results, verbal order, abbreviation) Proper Diagnosis Preventing common complications (Pressure Ulcers, Falls) Patient Care Process Line, Tubing, Cathether Mis-connection Sepsis Acute Coronary Syndrome Maternal & Neonatal Morbidity Response to the Deteriorating Patient / RRT Emergency Response

  26. Gap Analysis : SIMPLE ข้อแนะนำจาก SIMPLE หรือข้อมูลวิชาการอื่น มีอิสระที่จะเลือก ว่าสามารถทำอะไรได้ทันที Current/Actual Practice Desired Practice Recommendation Action Plan สิ่งที่ปฏิบัติจริง ในปัจจุบัน มุ่งเน้นที่ action มากกว่าการทำ guideline คุยกันเล่น-เห็นของจริง GAP

  27. Trigger Tool -> Identify Adverse Events Select High Risk Charts Trigger Reviewed วิเคราะห์ให้ได้ว่ามี adverse event หรือไม่ ไม่จำเป็นต้องให้ผู้เกี่ยวข้องกับ case มาร่วม เชื่อมโยง adverse event กับระบบที่เกี่ยวข้อง Readmit, ER revisit Death / CPR Complication ADE & ?ADE NI & ?NI Refer Incident Unplanned ICU Anes complication Surgical risk Maternal & neonatal Lab Blood Pt Complaint Nurse supervision Portion of Chart Reviewed Total Hospital Days AE Identified End Review AE / 1000 Days N Y Harm Category Assigned

  28. Track 3 : Clinical Population วิเคราะห์โรคสำคัญ / เป้าหมาย / ประเด็นสำคัญ (20 โรค) ตามรอย กำหนดประเด็นพัฒนาที่ชัดเจน ดำเนินการพัฒนา สรุป Clinical Tracer Highlight 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

  29. ใช้ตัวตามรอยทางคลินิก (Clinical Tracer) เพื่อเรียนรู้และพัฒนาทุกองค์ประกอบในระบบงาน Quality Process Critical to Quality 1. ตามรอยกระบวนการพัฒนา บริบท ประเด็นสำคัญ Content Treatment Goals 2. ตามรอยกระบวนการดูแลผู้ป่วย วัตถุประสงค์ Integration 3. ตามรอยระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง Result การปฏิบัติที่ดี โอกาสพัฒนา ตัวชี้วัด ติดตามผลลัพธ์ การพัฒนาคุณภาพ การดูแลผู้ป่วย

  30. Asthma: Treatment Goals Performance Standards CTQ ใช้ยาเหมาะสมกับระดับความรุนแรง /การควบคุมโรค Treatment Goals ลดการอักเสบ ของหลอดลม ควบคุมสิ่งแวดล้อม Customer need ทำกิจกรรมต่างๆ ได้ตามปกติ เพิ่มสมรรถภาพ ของปอด กายภาพบำบัด และการฝึกหายใจ กรอบความคิดเพื่อให้เขียน clinical tracer highlight ได้สมบูรณ์และตรงประเด็น จัดการกับการกำเริบ/ ภาวะฉุกเฉิน

  31. VSM & Integration of All Efforts Six Sigma / R2R Health Promotion Spiritual / Humanized Healthcare Standards / Clinical Excellence Safety & Risk Management Delivery / Waste Reduction Value Stream Mapping (VSM) for a Clinical Population

  32. ขจัดความสูญเปล่าจากงานประจำขจัดความสูญเปล่าจากงานประจำ สูญเปล่า เสียเวลา เสียโอกาส สูญหาย ซ้ำซ้อน ซับซ้อน / ยุ่งยาก

  33. คืนสู่ภาวะที่พึงประสงค์โดยเร็วที่สุดคืนสู่ภาวะที่พึงประสงค์โดยเร็วที่สุด สุขภาพปกติ สุขภาพปกติ ความสูญเปล่า ประสิทธิภาพในการรักษา ด้านคลินิก, ระบบงาน เจ็บป่วย การเข้าถึง การวินิจฉัยโรค

  34. ความสูญเปล่าทางคลินิก (Clinical Waste) • Unable to access, waiting • Delayed & wrong diagnosis • Delayed & wrong treatment • Over-use/under-use intervention & technology • Error & adverse event • Communication failure • Co-ordination failure • Inadequate knowledge & skill • Role confusion • Obsolete technique & technology (& malfunction) ความสูญเปล่าเหล่านี้มีมากเพียงใด อยู่ที่ไหนบ้าง

  35. Six Sigma, R2R, Reliability Science Defect Statistic & Research Reliability Science R2R Six Sigma วัด defect เป็น 10 –n ใช้ human factor เพื่อลด defect วัด defect เป็น sigma ใช้สถิติ วิธีวิจัยและทดลองเพื่อลด defect

  36. Clinical Self Enquiry

  37. จากกลุ่มผู้ป่วยสู่ภาพรวมจากกลุ่มผู้ป่วยสู่ภาพรวม ของการดูแลผู้ป่วย Access Multiple Trauma HIV Entry DHF Stroke Sepsis Assessment Investigation Ac. Appendicitis Ectopic Preg Ac MI Head Injury UGIB Diagnosis Drug abuse CA breast CRF Sepsis Plan of Care Discharge Plan CVA Head Injury COPD Information & Empowerment Reassess Care of Patient Communication UGIB DHF Sepsis Alc wirhdraw Multiple Trauma DM HT Asthma Stroke Back pain Discharge TB Spinal Inj Continuity of Care

  38. Track 4 : Standard Deployment กำหนดโครงสร้างทีมนำระดับกลาง ทีมที่เกี่ยวข้องศึกษาแนวทางใน SPA ตามรอยเพื่อเห็นของจริง & อิงวิจัย พัฒนาระบบ เชื่อมโยงกับหน่วยงานและระบบอื่นๆ เขียน SA ตามมาตรฐานตอนที่ I-IV 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

  39. มาตรฐาน HA/HPH (2006) มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี

  40. ถอดรหัสมาตรฐาน • เพื่อให้เกิดความเข้าใจมาตรฐานแต่ละเรื่องอย่างลึกซึ้ง • ควรพิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ • ผู้เกี่ยวข้อง ใครเป็นคนทำ ใครเป็นคนได้ • เป้าหมายของมาตรฐาน คนได้จะได้รับคุณค่าอะไร • ขั้นตอนที่ควรดำเนินการมีอะไรบ้าง • บริบทที่เกี่ยวข้อง อะไรคือปัญหาขององค์กรในเรื่องนี้ • ค่านิยมที่ควรนำมาปฏิบัติในเรื่องนี้

  41. (3) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนดในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. กิจกรรมที่ควรดำเนินการ • ICN และคณะกรรมการ IC ร่วมกันเลือกสรร scientific evidence (หลักฐานวิธีการที่ได้รับการพิสูจน์ว่าได้ผลจากการศึกษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์) ที่ update จากแหล่งที่เหมาะสม เช่น CDC, ชมรมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • นำข้อมูลหลักฐานดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติงานที่ใช้อยู่ (ถ้ามีการจัดทำไว้แล้ว) ทบทวนแนวทางปฏิบัติให้ทันสมัยกับ evidence • ทำ gap analysis เพื่อหาช่องว่างของการปฏิบัติกับมาตรการที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว กำหนดเป้าหมายและแผนการปรับปรุง • จัดทำแนวทางปฏิบัติงานเท่าที่จำเป็น เพื่อเป็นที่ใช้อ้างอิง ทำความเข้าใจ และธำงให้การปรับปรุงที่เกิดขึ้นมีความยั่งยืน ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป • ตัวอย่าง scientific evidence ที่นำมาใช้ในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ S P A

  42. ทำให้มาตรฐานอยู่ในงานประจำทำให้มาตรฐานอยู่ในงานประจำ ประเมินอย่างเป็นระบบ What are the strength & weakness? Can we measure them? ตามรอยการปฏิบัติ What are we doing? Are we doing it well? เอามาตรฐานมาคุยกันเล่น What’s in it for me? What’s our major risks? ทำความเข้าใจเป้าหมายของมาตรฐาน Focus ที่ Safety, HP, Learning

  43. ทำให้มาตรฐานเข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวันทำให้มาตรฐานเข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวัน 1. คุยกันเล่น มาตรฐานนี้มีเป้าหมายอะไร WHY (in general) มาตรฐานนี้จะช่วยให้ระบบของเราดีขึ้นได้อย่างไร WHY (for us) 2. เห็นของจริง อะไรที่เราทำได้ดี อะไรที่ยังเป็นจุดอ่อน จุดอ่อนนั้นอยู่ตรงไหน กับใคร เมื่อไร ที่ใด WHAT HOW เราทำงานกันอย่างไร ไปเยี่ยมชมกันอย่างสนุกๆ เล่าให้ฟัง ทำให้ดู สิว่าเราทำกันอย่างไร เราเข้าใจกันอย่างไร ความล่อแหลมหรือความเสี่ยงอยู่ตรงไหน เราป้องกันอย่างไร ถ้าเป็นอย่างนั้นจะทำอย่างไร เป็นอย่างนี้จะทำอย่างไร มีการทำจริงหรือไม่ ดูได้จากตรงไหน ถามได้จากใคร จะทำอย่างไรให้ทำได้ง่ายขึ้น (ใช้หลัก Human Factors) 3. อิงการวิจัย HOW MUCH ช่วยกันเป็นคนช่างสงสัย ตั้งประเด็นข้อสงสัยไว้มากๆ เลือกประเด็นสำคัญ ตั้งคำถามการวิจัย ทำ mini-research เก็บข้อมูลแต่น้อย ใช้คำถามน้อย จำนวนตัวอย่างน้อย เก็บน้อยแต่ให้ได้ข้อมูลและความรู้ที่ตรงประเด็น เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา

  44. แนวทางการตามรอยเพื่อเห็นของจริงแนวทางการตามรอยเพื่อเห็นของจริง • คิดถึงเป้าหมายของมาตรฐานเรื่องที่จะตามรอย • คิดถึง object หรือข้อมูล หรือเนื้อหาที่สามารถใช้เป็นตัวเชื่อมโยง หรือตามรอยได้ (ถ้ามี) เช่น ผู้ป่วย ยา ข้อมูลข่าวสาร • คิดถึงหน่วยงาน/บุคคลที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง (ผู้วางแผน ผู้ปฏิบัติ ผู้รับผลงาน) • คิดถึงประเด็นสำคัญที่ควรใส่ใจในแต่ละจุด • เป้าหมาย คุณภาพ ความเสี่ยง • การต่อเชื่อมกับขั้นตอนหรือจุดบริการอื่น • คิดถึงวิธีการที่จะรับรู้ข้อมูลในประเด็นสำคัญดังกล่าว (สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาข้อมูล) • คิดถึงระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถตามรอยดูได้

  45. ประเด็นในการตามรอย II-2.1 ระบบบริหารการพยาบาลเผชิญกับความท้าทายอะไรบ้าง มีวิธีการจัดการกับความท้าทายดังกล่าวอย่างไรประเมินผลความสำเร็จอย่างไร II-2.2 องค์กรแพทย์เผชิญกับความท้าทายอะไรบ้าง มีวิธีการจัดการกับความท้าทายดังกล่าวอย่างไรประเมินผลความสำเร็จอย่างไร II-3.1 รพ.มีความพร้อมในการจัดการกับภาวะฉุกเฉินเพียงใด(รพ.เสี่ยงต่อภาวะฉุกเฉินอะไรบ้าง วางแผนรองรับอย่างไร ฝึกอบรมอย่างไร คนมีความตระหนัก รับรู้ และมีทักษะพอหรือไม่ รพ.ทดสอบระบบของตนเองอย่างไร) II-3.2ก ระบบบำรุงรักษาและซ่อมบำรุงเครื่องมือ มีประสิทธิภาพเพียงใด II-3.3การจัดสิ่งแวดล้อมต่างๆ เอื้อต่อการเยียวยาและการเรียนรู้เพียงใด

  46. ประเด็นในการตามรอย II-4.2ก(1) ตามรอยการใช้ standard precautions และ isolation precautions II-4.2ก(3) พื้นที่ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ มีระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อที่เหมาะสมตามหลักวิชาการเพียงใด II-4.3ตามรอยกระบวนการเฝ้าระวังการติดเชื้อ มีการวิเคราะห์ข้อมูลและใช้ประโยชน์เพื่อการป้องกันการติดเชื้ออย่างไร II-5บันทึกเวชระเบียนสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้เกี่ยวข้องได้เพียงใด มีการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างไร มีการรักษาความลับของข้อมูลรัดกุมเพียงใด

More Related