200 likes | 327 Views
DESIGN. ASSIGNMENT. “ ใบตองตึง ”หลังคาธรรมชาติ. By Mr. Aphisit muenapri 51710403. วัตถุประสงค์. เพื่อต้องการทราบที่มาของคำว่า “ ใบตองตึง ” เพื่อต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ เพื่อศึกษาวัสดุในท้องถิ่นใน จ.พิษณุโลก เพื่อต้องการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
E N D
DESIGN ASSIGNMENT “ใบตองตึง”หลังคาธรรมชาติ By Mr. Aphisitmuenapri 51710403
วัตถุประสงค์ • เพื่อต้องการทราบที่มาของคำว่า “ใบตองตึง” • เพื่อต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ • เพื่อศึกษาวัสดุในท้องถิ่นใน จ.พิษณุโลก • เพื่อต้องการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ • เพื่อต้องการศึกษาระยะเวลาการใช้งานของ “ใบตองตึง
แนวทางการศึกษา • ศึกษาค้นคว้าทาง Internet • ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากห้องสมุด • สอบถามข้อมูลจากผู้มีความรู้ในหมู่บ้านที่ไปศึกษาในเขต จ.พิษณุโลก
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • นำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ออกแบบรีสอด • นำสิ่งที่ได้จากการศึกษา “ใบตองตึง” ไปพัฒนาต่อ • เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ • เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาให้ลูกหลานได้ศึกษาต่อไป
ใบตองตึง • “ใบตองตึง”เป็นใบไม้จากต้นไม้ที่มีชื่อว่า “ยางพลวง” • ชื่อวิทยาศาสตร์ : DipterocarpustuberculatnsRoxb.ชื่อวงศ์ : DIPTEROCARPACEAEชื่อสามัญ : พลวงชื่ออื่น : กุง (อุบลราชธานี, อุดรธานี, ปราจีนบุรี) คลอง (เขมร) ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย) ตึง, ตึงขาว (ภาคเหนือ) พลวง, ยาง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางพลวง (ภาคกลาง) พลอง, แลเท้า (กะเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน)ประเภทไม้ : ไม้ยืนต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น : ไม้ยืนต้นขนาดกลาง-ใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวของลำต้น กิ่งอ่อนเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีรอยแผลใบเห็นชัด ใบ:เดี่ยว เรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างขนาด 15-28 X 15-40 ซ.ม. โคนใบแผ่กว้าง แล้วหยักเว้า ปลายใบสอบทู่ เนื้อใบหนาเกลี้ยงหรืออาจมีขนกระจายห่างๆบ้าง ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ก้านใบยาว 3-30 ซ.ม.
ดอก :ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ตอนปลายกิ่ง มีกาบหุ้มช่อดอกรูปขอบขนาน แคบๆ หนึ่งกาบ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบบิดตามเข็มนาฬิกาเหมือนกังหัน ก่อนออกดอกจะทิ้งใบ หมดหรือเกือบหมด สีชมพู-ชมพูเข้ม ขอบกลีบสีขาว กลิ่น - ออกดอกเดือน ธ.ค.-เม.ย. ผล: เป็นรูปกรวย มีสันด้านข้างผล 5 สัน และพองโตเป็นติ่ง 5 ติ่งตรงที่ติดกับโคนปีก มีปีกยาว 2 ปีก ยาว 10-15 ซ.ม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น ผลแก่ประมาณ ม.ค. - พ.ค. แหล่งที่พบ:ป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง ที่พบขึ้นอยู่ทุกภาคของประเทศ
ประโยชน์และความสำคัญ • การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้เนื้อไม้ในระยะแรกๆ จะออกสีน้ำตาลแกมแดง ถ้าทิ้งไว้นานจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม เสี้ยนตรงพอประมาณ เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ แข็ง เลื่อยผ่าไสกบตบแต่งง่าย ใช้ทำสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ภายในร่ม เช่น เครื่องบน รอด ตง คาน พื้น ฝา ทำเครื่องมือทางการเกษตร หูกทอผ้า กังหันน้ำ ปาร์เก้ หรือกระเบื้องไม้ปูพื้น
การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรน้ำมันใช้ทาแผลภายนอก โดยผสมกับมหาหิงคุ์ และน้ำมันมะพร้าวก็ได้ ใบ เผาให้เป็นเถ้าผสมกับน้ำปูนใส แก้บิดและถ่ายเป็นมูกเลือก ราก นำมาต้มแล้วดื่มแก้ตับอักเสบการใช้ประโยชน์ทางด้านอื่นๆชันใช้ทาไม้ ยาเรือ หรือ ยาเครื่องจักสาน ทำไต้ ใบแห้งใช้มุงหลังคา ฝากั้นห้อง คลุมผิวดิน ปลูกผัก ปลูกสตรอเบอรี่ ใบสด ใช้ห่อของแทนถุงพลาสติก http://pineapple-eyes.snru.ac.th/animal/pupan/?q=node/147
ขั้นตอนการเก็บ 1.)ออกไปเก็บใบตองตึงที่ร่วงหล่นตามธรรมชาติช่วงเช้าๆในฤดูหนาว เพราะว่าใบไม้จะร่วงเยอะในฤดูนี้ซึ่งเก็บในตอนเช้าจะทำให้ใบตองตึงไม่กรอบและฉีกขาดง่าย2).จากนั้นจึงนำมาตัดก้านใบ-แช่น้ำเรียงทับไว้ในน้ำ
3).เตรียมไม้ไผ่จักเป็นตอกหนาประมาณ 3-4 ม ม.ยาวประมาณ 2-3 ม.ไม่จำกัดจำนวน(ประมาณใบที่ตองตึงที่ เก็บมา)ใช้เป็นก้าน
4).จักตอกเป็นแผ่น หนาประมาณ 1.5-2 ม ม. ยาว 35 ชม.เพื่อใช้ในการเย็บเข้ากับก้านที่เตรียมไว้
ตอกยาว 35 cm. 5).นำแผ่นใบตองตึงที่เตรียมไว้มาเย็บเข้ากับก้าน ไม้ไผ่ด้วยตอกไม้ไผ่ เรียกว่า “ตับพลวง” ก้านไม้ไผ่หนา 3-4 ม ม.
6).เก็บมุม แล้วก็จะได้ใบตองตึงมุงหลังคาหนึ่งก้าน 7).ทำเช่นนี้ไปเรื่อยจนกว่าจะเต็มหลังคา
8).อีกแบบ ส่วนใหญ่จะใช้ทำฝาผนัง
CASE STUDY ภูใจใส เชียงราย ชานไม้ชายเขา http://www.212cafe.com/boardvip/view.php?user=chomthai&id=304
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=yesido&month=01-06-2009&group=1&gblog=61http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=yesido&month=01-06-2009&group=1&gblog=61
แหล่งที่มา • http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.khonthai.com/Vitithai/pic/phome33.jpg&imgrefurl=http://dek-d.com/board/view.php%3Fid%3D887595&usg=__Hl0x4a98jGI3TOfgcDFP7EJytYU=&h=118&w=180&sz=7&hl=th&start=55&um=1&tbnid=DX3BO5CLXDMB_M:&tbnh=66&tbnw=101&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B6%25E0%25B8%2587%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%26ndsp%3D18%26hl%3Dth%26rlz%3D1W1GTKR_en%26sa%3DN%26start%3D54%26um%3D1 • http://www.212cafe.com/boardvip/view.php?user=chomthai&id=304 • http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=yesido&month=01-06-2009&group=1&gblog=61 NARESUAN UNIVERSITY 701213 SMALL-SCALE PUBLIC BUILDING DESIGN STUDIO By Mr. AphisitMuenapri 51710403