830 likes | 1.04k Views
การวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ . งานวิจัยและพัฒนา โรงเรียนศรีพฤฒา. ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด. ปัจจุบัน นักเรียนมีพื้นฐานแย่มาก หลายคนจบชั้น ป.6 แล้วอ่านหนังสือไม่ออก . ข้อมูล. ครูโรงเรียนนี้ มี 12 คน อายุเฉลี่ย 40 ปี
E N D
การวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ งานวิจัยและพัฒนา โรงเรียนศรีพฤฒา
ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด • ปัจจุบัน นักเรียนมีพื้นฐานแย่มาก หลายคนจบชั้น ป.6 แล้วอ่านหนังสือไม่ออก
ข้อมูล • ครูโรงเรียนนี้ มี 12 คน อายุเฉลี่ย 40 ปี • นักเรียนทั้งโรงเรียนมี 67 คน ระดับชั้นละ 8-12 คน • ระยะเวลา 6 ปี จบชั้น ป.6 จำนวน 9 คน อ่านหนังสือไม่ออก จำนวน 4 คน • ครูรับเงินเดือน 6 ปี รวม 15.7 ล้านบาท
ท่านเห็นด้วยกับข้อความนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด • คาดว่าในปี 2549 เด็กจบ ป.6 ทุกคนจะอ่านหนังสือออก จะไม่มีปัญหาเรื่องเด็กอ่านหนังสือไม่ออกอีกต่อไป
เด็กในปัจจุบันพื้นฐานไม่ดี ทำให้ยากต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ • ครูในปัจจุบันยังขาดความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กที่มีพื้นฐานไม่ดีหรือในภาวะแวดล้อมของสังคมที่มีปัญหา
ขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรมขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรม • เรียนรู้การวิจัยในชั้นเรียน จากรณีตัวอย่าง • ความรู้พื้นฐานสำหรับครูนักวิจัย • สรุปความหมายและประเภทของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
กิจกรรม วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และบันทึกประวัติศาสตร์(“What was” and “What is” ) • โปรดระบุปัญหาการจัดการเรียนการสอน ที่ท่านเคยประสบ/ประสบอยู่ในปัจจุบัน • โปรดระบุปัญหาที่ท่านเคยแก้ จนประสบความสำเร็จ 1 ปัญหาโดยระบุ (1)สภาพปัญหา พร้อมตัวชี้วัดปัญหา (2) แนวทางการแก้ปัญหา และ (3) ผลการแก้ปัญหา
ปัญหาสำคัญ • วิธีสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ไม่เหมาะสมกับผู้เรียน ขาดวิธีสอน หรือเทคนิคการสอนที่สร้างสรรค์
ส่วนที่ 1 เรียนรู้การวิจัยในชั้นเรียน จากกรณีตัวอย่าง
กรณีศึกษา : แก้ปัญหาเด็ก 1 คน นวัตกรรม เสื้อผ้า สกปรก/ มอมแมม ตั้งแต่เช้าและ ไม่ตั้งใจเรียน สังเกต/ เสื้อผ้า การ ตั้งใจเรียน วินัย ใช้กระบวนการ เสริมแรง(เชิงบวก) “ชม” 1 2 วิธีการใหม่ ๆ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
เรื่องรูปแบบการแก้ปัญหานักเรียนที่มีพฤติกรรมเล่นสกปรกมอมแมมเรื่องรูปแบบการแก้ปัญหานักเรียนที่มีพฤติกรรมเล่นสกปรกมอมแมม • วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหานักเรียนที่มีพฤติกรรมเล่นสกปรกมอมแมม 2) เพื่อประเมินผลการแก้ปัญหานักเรียนที่มีพฤติกรรมเล่นสกปรกมอมแมม
กรณีตัวอย่าง การพัฒนา 2
โรงเรียนแห่งหนึ่งกำหนดโรงเรียนแห่งหนึ่งกำหนด คุณลักษณะของเด็ก ดังนี้ ตัวเป็นไทย ใจเป็นสากล (จิตใจ/ทักษะ เป็นสากล)
ตัวเป็นไทย • มีน้ำใจ • สัมมนาคารวะ • กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
จิตใจ เป็นสากล • ความเป็นนักประชาธิปไตย • เห็นคุณค่าในศักดิ์ศรี/สิทธิความเป็นมนุษย์
นวัตกรรม สังเกต/ วัดลักษณะ ตัวเป็นไทย ใจเป็นสากล สังเกต/ วัดลักษณะ ตัวเป็นไทย ใจเป็นสากล X 1 2 วิธีการใหม่ ๆ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
Treatment(X) -นิยามคุณลักษณะ “ตัวเป็นไทย”“ใจเป็นสากล” คืออะไร -กตัญญู หมายถึงการกระทำในลักษณะต่อไปนี้................... -มีน้ำใจ หมายถึง การกระทำในลักษณะต่อไปนี้......... -กำหนดรายการพฤติกรรมที่เด็กต้องปฏิบัติในแต่ละวัน แล้วให้เด็กปฏิบัติ พร้อมทั้งมาเล่าให้ครูรับทราบว่าได้ทำหรือไม่ ครูรับทราบทุกวัน และให้พ่อแม่รับทราบ/ตรวจสอบว่าเด็กได้ปฏิบัติจริงหรือไม่ เป็นรายเดือน
เรื่อง....................................................................................เรื่อง.................................................................................... • วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์แก่นักเรียน 2) เพื่อประเมินผลการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในตัวนักเรียน
เรื่องการปลูกฝังคุณลักษณะ “ตัวเป็นไทย ใจเป็นสากล” สำหรับนักเรียนอนุบาล โรงเรียน........................ • วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์แก่นักเรียน 2) เพื่อประเมินผลการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในตัวนักเรียน
กรณีตัวอย่าง การพัฒนา 3
นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดความสามารถ ในการแก้ปัญหา ตรวจสอบ ความสามารถ ในการแก้ปัญหา อีกครั้ง ใช้กิจกรรมนิทาน ปลายเปิด เน้นให้เด็กร่วม อภิปรายและแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
เรื่อง..................................................................................เรื่อง.................................................................................. • วัตถุประสงค์
เรื่องผลการใช้กิจกรรมนิทานปลายเปิดเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการแก้ปัญหา สำหรับเด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลระยอง จังหวัดระยอง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมนิทานปลายเปิดเพื่อฝึกทักษะการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนปฐมวัย 2) เพื่อประเมินผลการใช้ชุดกิจกรรมนิทานปลายเปิด
กรณีตัวอย่าง การพัฒนา 4
นวัตกรรม พบว่า นักศึกษา ไม่มีค่านิยมในการ ประหยัดพลังงาน ตรวจสอบ ค่านิยม/ ผลการส่งเสริม จัดกิจกรรม สร้างนิสัย และค่านิยมในการ ประหยัดพลังงาน 6 เดือน 1 2 X ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
กิจกรรมพัฒนา(Treatment)…X • ทำคู่มือ/กำหนดแนวปฏิบัติ • ติดตั้งหลอดไฟตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักร • แต่ตั้งนักศึกษาทำหน้าที่ผู้จัดการด้านพลังงานในแต่ละรอบเดือน • ตรวจสอบ based Line การใช้พลังงาน แสดงกราฟ/สถิติการใช้พลังงานในแต่ละ shop และภาพรวมของสถาบัน • ประเมินความก้าวหน้าในการประหยัดพลังงาน • ปลดปล่อยการควบคุมเป็นระยะ ๆ(ปฏิบัติการ 2 เดือนเว้นระยะ 1 เดือน)
การสร้างวินัยด้านการประหยัดพลังงานสำหรับนักศึกษาแผนกช่างไฟฟ้า โรงเรียนเทคโนโลยีทีพีไอ จังหวัดระยอง • วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการปลูกฝังวินัยด้านการประหยัดพลังงาน สำหรับนักศึกษาแผนกวิชาช่างไฟฟ้า 2. เพื่อประเมินผลการจัดกิจกรรมปลูกฝังวินัยด้านการประหยัดพลังงาน สำหรับนักศึกษา แผนกวิชาช่างไฟฟ้า อ.ภาณุวัฒน์ ว่องไว
ตัวแปรตาม • ความพึงพอใจของนักศึกษา/คณาจารย์ • พฤติกรรมการประหยัดพลังงานของนักศึกษา • พฤติกรรมการประยุกต์ใช้ความรู้ในการประหยัดพลังงานที่บ้าน/ในหอพัก/ในชุมชน • ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ต่อเดือน ต่อภาคเรียน(นำเสนอโดยกราฟ ชี้ให้เห็นแนวโน้มของการประหยัดพลังงาน) รวมทั้งค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สามารถประหยัดได้ต่อภาคเรียน
Treatment เด็กขาดทักษะ การดูแลตนเอง ไม้รับผิดชอบงาน ไม่ใฝ่เรียนรู้ ป้อนคำถาม กำกับ ติดตาม และตรวจสอบ เพื่อให้เด็กสามารถ จัดการตนเอง ประเมิน ความสามารถ ในการดูแลตนเอง ความรับผิดชอบ ใฝ่รู้ การคิดวิเคราะห์ วิสัยทัศน์ X 1 2
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ทุกวันให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ทุกวัน อนุบาล 3 • วันนี้ได้ทำอะไรให้ตัวเอง(ดีขึ้น)บ้าง • วันนี้ได้ดูแล/ช่วย พ่อแม่ อย่างไรบ้าง • วันนี้ได้ดูแล/ช่วยเพื่อนหรือครูอย่างไรบ้าง
ให้นักเรียนตอบคำถามตามที่กำหนดทุกวันให้นักเรียนตอบคำถามตามที่กำหนดทุกวัน ระดับประถมศึกษา • วันนี้ได้พัฒนาตนเองให้ดีขึ้นอย่างไรบ้าง • วันนี้ได้ช่วยเหลือครอบครัวให้ดีขึ้นอย่างไรบ้าง • วันนี้ได้ช่วยเหลือเพื่อน ครู/โรงเรียน ให้ดีขึ้นอย่างไรบ้าง • วันนี้มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นในจังหวัดของเราบ้าง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น • วันนี้ได้พัฒนาตนเองให้ดีขึ้นอย่างไรบ้าง • วันนี้ได้ช่วยเหลือครอบครัวให้ดีขึ้นอย่างไรบ้าง • วันนี้ได้ช่วยเหลือเพื่อน ครู/โรงเรียน ชุมชน และสังคม ให้ดีขึ้นอย่างไรบ้าง • วันนี้มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นในจังหวัดของเราบ้าง • วันนี้มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นในประเทศของเราบ้าง เป็นเหตุการณ์ที่ดี/เหมาะสมหรือไม่
นักเรียน ม.ปลาย • เหมือน ม.ต้น และเพิ่ม • วันนี้ มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นในทวีปเอเชีย/ในโลกบ้าง เหตการณ์นั้น มีผลดี-ผลเสีย หรือเกิดผลกระทบต่อประเทศของเราหรือไม่ อย่างไร
เรื่อง...............................................................................เรื่อง............................................................................... • วัตถุประสงค์
กรณีตัวอย่าง การพัฒนา 6
นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดความเชื่อมั่น ในตนเอง ตรวจสอบ ความเชื่อมั่น ในตนเอง อีกครั้ง ใช้กิจกรรม การเล่นบล๊อคไม้ เน้นการชมเชย และให้ประสบ ความสำเร็จ เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
เรื่อง................................................................................เรื่อง................................................................................ • วัตถุประสงค์
กรณีตัวอย่าง การพัฒนา 7
นวัตกรรม วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน ตรวจสอบสภาพ/ วิเคราะห์ปัญหา อีกครั้ง X สื่อ 1 2 วิธีการใหม่ ๆ โครงการ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
ชื่อเรื่อง................................................................................ชื่อเรื่อง................................................................................ • กรณีพัฒนาสื่อ • กรณีพัฒนารูปแบบการสอน/วิธีสอน • กรณีการจัดทำโครงการพัฒนานักเรียน
บทสรุป จาก กรณีตัวอย่าง ประเภทของนวัตกรรม และกระบวนการพัฒนานวัตกรรม
ประเภทของนวัตกรรม 1. นวัตกรรมประเภทสื่อ อุปกรณ์ ชิ้นงาน 2. นวัตกรรมประเภท รูปแบบ วิธีการ เทคนิคการจัดการ Materials Procedure/Process/Style
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมกระบวนการพัฒนานวัตกรรม Step 1….วิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงาน Step 2….ศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎี พิจารณารายการนวัตกรรมที่มีความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา Step 3….เลือกนวัตกรรมที่เหมาะสมที่สุด
Step 4...สร้างต้นแบบนวัตกรรม Step 5…ทดลองใช้และปรับปรุง ต้นแบบ อย่างต่อเนื่อง Step 6…ทดลองภาคสนาม Step 7…ประเมินผลการทดลองใช้ สรุปผล และเขียนรายงาน การพัฒนา
ลักษณะนวัตกรรมที่ดี Logical Approach 1. เหมาะสม/สอดคล้องกับสภาพปัญหา/ความต้องการ จำเป็น 2. เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 3. ถูกต้องตามหลักวิชา มีโอกาสเกิดผลเชิงบวก ค่อนข้างสูง 4. เป็นวิธีการหรือสื่อที่สร้างสรรค์น่าสนใจ
นวัตกรรมทุกประเภทควรผ่านการทดลองใช้นวัตกรรมทุกประเภทควรผ่านการทดลองใช้ Empirical Approach ทดลองใช้ในสถานการณ์จริง If it Work, It is Right
การออกแบบทดลองนวัตกรรมการออกแบบทดลองนวัตกรรม 1….การเลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง Sampling Design “กลุ่มตัวอย่างในการทดลอง(Subjects) คือใคร จำนวนกี่กลุ่ม” One-Group Design หรือ Two-Group Design
2. จะจัดเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร Measurement Design "จะใช้เครื่องมือชนิดใด พัฒนาเครื่องมืออย่างไร จะจัดเก็บเมื่อไร" ทดสอบ สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ฯลฯ