1 / 15

นายสุพัฒน์ แสงสวย นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญการ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร

โครงสร้างพื้นฐาน และขีดความสามารถด้าน การตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่ม POPs ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. นายสุพัฒน์ แสงสวย นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญการ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร. โครงสร้าง และบุคลากร (94, 120). บทบาทหน้าที่.

mahsa
Download Presentation

นายสุพัฒน์ แสงสวย นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญการ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงสร้างพื้นฐาน และขีดความสามารถด้านการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่ม POPs ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นายสุพัฒน์ แสงสวย นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญการ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร

  2. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหารสำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร • โครงสร้าง และบุคลากร (94, 120)

  3. บทบาทหน้าที่ • กำหนดและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบและวิธีการตรวจวิเคราะห์อาหาร • ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร • ให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร • เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

  4. ฝ่ายสารพิษ สารปนเปื้อน และไดออกซิน • โลหะหนัก เช่น ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู ดีบุก เป็นต้น • ไมโครท็อกซิน เช่น aflatoxinG1, G2,B1, B2, M1 and M2 OchratoxinPatulin • สารประกอบกลุ่มไดออกซิน จำนวน 17 congeners เช่น 2,3,7,8-Tetrachlorodibenzo-p-dioxin (TCDD), 1,2,3,7,8-Pentachlorodibenzo-p-dioxin (PeCDD), 1,2,3,7,8,9-Hexachlorodibenzo-p-dioxin (HxCDD), 1,2,3,7,8,9-Hexachlorodibenzofuran (HxCDF) 1,2,3,4,6,7,8,9-Octachlorodibenzofuran (OCDF) เป็นต้น • สารประกอบกลุ่มพีซีบีที่คล้ายไดออกซิน จำนวน 12 congeners เช่น PCB 77, PCB 88, PCB 126, PCB 105, PCB157เป็นต้น • สารประกอบกลุ่มพีซีบีที่ไม่คล้ายไดออกซิน จำนวน 6congeners ได้แก่ PCB 28, PCB 101, PCB 138, PCB 153 และ PCB 180 • อื่นๆ เช่น 3-MCPD, Acrylamide, Melamine, Cyanuricacid, Tetrodotoxinไอโอดีน เป็นต้น • จำนวนบุคลากร (11,12)

  5. ฝ่ายสารกำจัดศัตรูพืชและยาสัตว์ตกค้างฝ่ายสารกำจัดศัตรูพืชและยาสัตว์ตกค้าง • สารกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ Organochlorinecompounds, Organophosphorus compounds, Carbamates, Synthetic pyrethroidCarbendazimและ Thiabendazoleเป็นต้น • ยาสัตว์ตกค้าง เช่น สารเคมีกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ได้แก่Clenbuterol, Salbutamol, Brombuterolและ Ractopamine,คลอแรมเฟนิคอลสารไนโตรฟูรานส์ เมตาโบไลต์, กลุ่มเตตตร้าไซคลิน, กลุ่มซัลโฟ นาไมด์ เป็นต้น • จำนวนบุคลากร (9,6)

  6. เครื่องมือ • HRGC/HRMS จำนวน 1 เครื่อง • LC/MS-MS จำนวน 2 เครื่อง • HPLC/ICP-MS จำนวน 1 เครื่อง • ICP-AES จำนวน 1 เครื่อง • HPLC จำนวน 4 เครื่อง • AAS จำนวน 4 เครื่อง • ห้องปฏิบัติการเคมีทั่วไป 12 ห้อง • clean room class 1000, 10000 และ 100000 อย่างละ 1 ห้อง

  7. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา • ส่งบุคลากรเข้าร่วมการอบรมจากหน่วยงานทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ • เข้าร่วมในกิจกรรมทดสอบความชำนาญของห้องปฏิบัติการทั้งภายในและต่างประเทศ • ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005

  8. โครงการและการวิจัย

  9. โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (1) • ปี พ.ศ. 2552 แผนการทดสอบความชำนาญการตรวจวิเคราะห์สารกำจัดศัตรูพืชออร์กาโนคลอรีน ในไขมัน มีห้องปฏิบัติการเข้าร่วม 15 ห้องปฏิบัติการ ผลพบว่าห้องปฏิบัติการรายงานผลได้เป็นที่น่าพอใจร้อยละ 80.0 – 93.3 งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ตรวจนมพร้อมดื่ม น้ำนม ถั่วเหลือง ถั่วเหลือง ข้าว แป้ง และบะหมี่สำเร็จรูป จำนวน 111, 51, 21, 11, 9 และ 9 ตัวอย่าง ตามลำดับ ทุกตัวอย่างตรวจไม่พบ ตรวจน้ำประปา น้ำบาดาล น้ำผิวดินและน้ำใช้ จำนวน 42 ทุกตัวอย่างตรวจไม่พบ POPs ในกลุ่มยากำจัดศัตรูพืช ตรวจนมผง จำนวน 29 ตัวอย่าง ตรวจพบการตกค้างของ DDT 4 ตัวอย่าง ระหว่าง 0.01 – 0.07 mg/kg ตรวจผักและผลไม้สด 12 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างตรวจไม่พบ POPs ในกลุ่มยากำจัดศัตรูพืช ตรวจเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 29 ตัวอย่าง ตรวจพบ DDT 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 0.01 mg/kg

  10. โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (2) • ปี พ.ศ. 2553 โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ไดออกซินแห่งแรกของประเทศไทย โครงการสำรวจปริมาณการตกค้างสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในพืชผักสมุนไพรที่มีความสำคัญต่อการส่งออก กรมวิทย์ฯ รวมกับ มกอช เก็บตัวอย่าง ผักชี ผักชีฝรั่ง ใบแมงรัก ใบสาระแหน่ ใบโหระพา ใบกะเพรา ใบมะกรูด จำนวน 122 ตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ตรวจไม่พบยากำจัดศัตรูพืชที่เป็น POPs ในทุกตัวอย่าง งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในอาหารทุกชนิด จำนวน 316 ตัวอย่าง ตรวจไม่พบยากำจัดศัตรูพืชที่เป็น POPs ในทุกตัวอย่าง งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่มไดออกซินโดยวิธี DR CALUX ในอาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จำนวน 62 ตัวอย่าง ตรวจพบ สารประกอบกลุ่มไดออกซิน ไม่เกินข้อกำหนดมาตรฐานของ EU ในทุกตัวอย่าง

  11. โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (3) • ปี พ.ศ. 2554 งานวิจัยประเมินความเสี่ยงการได้รับสัมผัสสารพิษจากอาหาร โครงการย่อย การศึกษาปริมาณสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช สารประกอบกลุ่ม PCBsในอาหาร ที่คนไทยบริโภค พ.ศ. 2553-2554 โดยเก็บตัวอย่างจาก 8 จังหวัด จำนวน 888 ตัวอย่าง ตรวจไม่พบยากำจัดศัตรูพืช และสารประกอบกลุ่ม PCBs ที่เป็น POPs ในทุกตัวอย่าง งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในอาหารทุกชนิดจำนวน 583 ตัวอย่าง ตรวจไม่พบยากำจัดศัตรูพืชที่เป็น POPsในทุกตัวอย่าง งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่มไดออกซินโดยวิธี DR CALUX ในอาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จำนวน 35 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบกลุ่มไดออกซิน ไม่เกินข้อกำหนดมาตรฐานของ EUในทุกตัวอย่าง

  12. โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (4) • ปี พ.ศ. 2555 งานบริการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่มไดออกซินโดยวิธี DR CALUX ในอาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จำนวน 32 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบกลุ่มไดออกซิน ไม่เกินข้อกำหนดมาตรฐานของ EUในทุกตัวอย่าง งานบริการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่มไดออกซิน (17 ชนิด) และพีซีบี ที่คล้ายไดออกซิน (12 ชนิด) โดยวิธี HRGC/HRMS ในอาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จำนวน 20 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบกลุ่มไดออกซิน ไม่เกินข้อกำหนดมาตรฐานของ EUในทุกตัวอย่าง

  13. โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (5) • ปี พ.ศ. 2556 โครงการงานตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่มไดออกซิน (17 ชนิด)และพีซีบีคล้ายไดออกซิน (12 ชนิด) โดยวิธี HRGC/HRMS ในอาหารทุกชนิด จำนวน 181 ตัวอย่าง ยังไม่สรุปผล เฝ้าระวังอาหารทะเลจากเหตุน้ำมันรั่วลงสู่ทะเล จังหวัดระยอง ตรวจหาสารประกอบกลุ่ม PCBs ที่เป็นสารบ่งชี้ (Marker PCBs หรือ indicator PCBs) จำนวน 6 ตัว ได้แก่ PCB 28, 52, 101, 138, 153 และ 180 • โดยผลการวิเคราะห์พบว่า • หอย ตรวจพบระหว่าง 0.03 – 0.18 ng/g wet weight (ข้อมูลพื้นฐาน, base line, 0.29 ng/g wet weight) • กุ้ง ตรวจพบระหว่าง 0.01 – 0.04 ng/g wet weight (ข้อมูลพื้นฐาน, base line, - ng/g wet weight) • ปู ตรวจพบระหว่าง 0.02 - 0.04 ng/g wet weight (ข้อมูลพื้นฐาน, base line, 0.04ng/g wet weight) • ปลาหมึก ตรวจไม่พบและพบ 0.02 ng/g wet weight (ข้อมูลพื้นฐาน, base line, 0.04 ng/g wet weight) • ปลา ตรวจไม่พบและพบระหว่าง 0.06 – 0.11 ng/g wet weight (ข้อมูลพื้นฐาน, base line, 0.07ng/g wet weight) ทุกตัวอย่างไม่เกินระดับสูงสุด (maximum Level) ของสหภาพยุโรป (75 ng/g wet weight)

  14. โครงการงานวิจัยในอนาคตโครงการงานวิจัยในอนาคต • ปี พ.ศ. 2557 - 2558 โครงการสำรวจปริมาณ สารประกอบกลุ่มไดออกซิน (17 ชนิด), พีซีบี ที่คล้ายไดออกซิน(12 ชนิด) และสารประกอบกลุ่ม PCBs ที่เป็นสารบ่งชี้(Marker PCBs หรือ indicator PCBs) โดยวิธี HRGC/HRMS ในอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก

  15. ข้อคิดเห็น • เทคโนโลยีในปัจจุบันนี้ ความสามารถของเครื่อง GC/MS-MS สามารถใช้ตรวจวัดสารประกอบกลุ่มไดออกซิน สารประกอบกลุ่มพีซีบีที่คล้ายไดออกซิน และสารประกอบกลุ่มพีซีบีตัวชี้บ่ง ซึ่งมีความสามารถใกล้เคียงกับเครื่อง HRGC/HRMS • ในตัวอย่างสิ่งแวดล้อมขั้นตอนการเก็บตัวอย่าง การสกัด การทำสารสกัดให้บริสุทธิ์ การระเหยตัวทำละลายอินทรีย์ทิ้ง การแยกส่วนของสารเคมีแต่ละกลุ่มออกจากกัน ล้วนเป็นงานที่ละเอียดอ่อน ต้องใช้กำลังคน ทรัพยากรและเวลา ดังนั้นควรมีการใช้ให้คุ้มค่าทั้งในปัจจุบันและอนาคต

More Related