E N D
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร1.1.1 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ 1.1.2 สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน 1.1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจำกัด 1.1.4 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า 1.1.5 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 1.1.6 สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจำเพาะ 1.1.7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ1.2 ชีววิทยาคืออะไร 1.3 ชีววิทยากับการดำรงชีวิต 1.4 ชีวจริยธรรม 1.5 การศึกษาชีววิทยา
ชีววิทยา (Biology) ***ชีววิทยา (Biology) จึงหมายถึง การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตอย่างมีเหตุผล bios + logos = biology bios = ชีวิต (ชีวะ) logos = ความคิดและเหตุผล (วิทยา)
ความสำคัญของชีววิทยา 1.ด้านโภชนาการ - การเลือกชนิดของอาหาร - บริโภคอาหารให้ถูกสัดส่วน - เพิ่มผลผลิตอาหาร - การปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ 2.ด้านการแพทย์และสาธารณสุข - การดูแลรักษาร่างกาย - ป้องกันโรค รักษาโรค 3.การควบคุมศัตรูพืชและสัตว์ - การควบคุมศัตรูพืชและสัตว์โดยวิธีทางชีววิธี 5.การพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน - ด้านเศรษฐกิจ เช่น พืชผัก ธัญพืช ที่ใช้บริโภคและส่งเป็นสินค้าออก - การใช้พลังงานทดแทน เช่น มูลสัตว์ ซากสัตว์ ใช้ผลิตก๊าซชีวภาพอ้อยและมันสำปะหลังใช้ผลิตแอลกอฮอล์ 4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกันมลภาวะของสิ่งแวดล้อม - การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าและใช้ได้นานโดยไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
ทดสอบก่อนเรียน จงนำตัวเลือกด้านซ้ายเติมลงในช่องว่างด้านขวาให้ถูกต้อง 1)….…..สัตววิทยา 2)……...นิเวศวิทยา 3)……...สัณฐานวิทยา 4)….…..พันธุศาสตร์ 5)……...อนุกรมวิธาน 6)….…..โพรโตซัววิทยา 7)….…..สรีรวิทยา 8)……...พฤกษศาสตร์ 9)….…..วิวัฒนาการ 10)….…จุลชีววิทยา ก. Botany ข. Ecology ค. Evolution ง. Genetics จ. Microbiology ฉ. Morphology ช. Physiology ซ. Protozology ฌ. Taxonomy ญ. Zoology
การจำแนกทางชีววิทยา 1. จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ………….. 2. การศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต …………. 3. การศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต
1. จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต • พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเกี่ยวกับพืช แยกย่อยเป็น - PhycologyหรือAlgology (สาหร่ายวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับสาหร่าย - Mycology (เห็ดราวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับเห็ดรา - Bryology ศึกษาเกี่ยวกับมอสส์ ลิเวอร์เวิร์ตและฮอร์นเวิร์ต - Pteridologyศึกษาเกี่ยวกับเฟิร์น - Dendrology ศึกษาเกี่ยวกับไม้ยืนต้น
Pteridology ศึกษาเกี่ยวกับเฟิร์น
Bryologyศึกษาเกี่ยวกับมอสส์ ลิเวอร์เวิร์ตและฮอร์นเวิร์ต
Mycology (เห็ดราวิทยา)ศึกษาเกี่ยวกับเห็ดรา
1. จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (ต่อ) • สัตววิทยา (Zoology) ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์แยกย่อยเป็น - Protozoology(โพรโทซัววิทยา)ศึกษาเกี่ยวกับโพรโทซัว - Mammalogy (วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม - Ichthyology (มีนวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับปลา - Entomology (กีฏวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับแมลง - Acarology (วิทยาเห็บไร) ศึกษาเกี่ยวกับเห็บและไร - Malacology (สังขวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับหอย • - Ornithology (ปักษีวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับนก
Malacology (สังขวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับหอย
Entomology (กีฏวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับแมลง
Mammalogy (วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
Ornithology (ปักษีวิทยา) ศึกษาเกี่ยวกับนก
1. จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (ต่อ) • จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ ที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น - Virologyศึกษาเกี่ยวกับไวรัส - Bacteriologyศึกษาเกี่ยวกับแบคทีเรีย
2. ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต • กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) >>ศึกษาโครงสร้างต่างๆ โดยการผ่าตัด • สัณฐานวิทยา (Morphology) >>ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต • สรีรวิทยา (Physiology) >>ศึกษาหน้าที่การทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต • พันธุศาสตร์ (Gennetics) >>ศึกษาลักษณะต่างๆ ทางกรรมพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะต่างๆจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน
กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) >>ศึกษาโครงสร้างต่างๆ โดยการผ่าตัด
พันธุศาสตร์ (Gennetics) >>ศึกษาลักษณะต่างๆ ทางกรรมพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะต่างๆจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน
2. ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต • นิเวศวิทยา (Ecology) >>ศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • มิญชวิทยาหรือเนื้อเยื่อวิทยา (Histology) >>ศึกษาลักษณะของเนื้อเยื่อทั้งทางด้านโครงสร้างและหน้าที่การทำงาน • วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) >>ศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อน • ปรสิตวิทยา (Parasitology) >>ศึกษาเกี่ยวกับการเป็นปรสิตของสิ่งมีชีวิต • วิทยาเซลล์ (Cytology) >>ศึกษาโครงสร้างหน้าที่ของเซลล์สิ่งมีชีวิต
นิเวศวิทยา (Ecology) >>ศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) >>ศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อน
3. ศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต • อนุกรมวิธาน (Taxonomy) >>ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งหมวดหมู่ การตั้งชื่อ สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ • วิวัฒนาการ (Evolution) >>ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน • บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) >>ศึกษาเกี่ยวกับซากโบราณของสิ่งมีชีวิต
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) >> ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งหมวดหมู่ การตั้งชื่อ สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
วิวัฒนาการ (Evolution) >>ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน