430 likes | 872 Views
โดย …. ดร . มาฆะ ภู่จินดา. สำนักงานข้าราชการพลเรือน (ก . พ . ). การปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. …. Broadbanding คืออะไร ?. ระบบบริหารค่าตอบแทนที่ ยุบกลุ่มงาน เหลือน้อยลง (2-3) หรือ รวบระดับงาน เข้าเป็นช่วงกว้างเหลือเพียง 4-5 ระดับ
E N D
โดย… ดร.มาฆะ ภู่จินดา สำนักงานข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
การปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ….
Broadbanding คืออะไร? • ระบบบริหารค่าตอบแทนที่ • ยุบกลุ่มงานเหลือน้อยลง (2-3) • หรือ รวบระดับงานเข้าเป็นช่วงกว้างเหลือเพียง 4-5 ระดับ • แต่ละช่วงเรียกว่าระดับหรือ band ครอบคลุมหลายกลุ่มงาน • ความก้าวหน้าในงานขึ้นกับความรับผิดชอบ/บทบาทที่สูงขึ้น ไม่เป็นไปตามอายุงานหรือการไต่เต้าแข่งกันขึ้นสู่สายงานบริหาร • ให้ความสำคัญกับคุณค่า/ผลงาน/ทักษะที่พนักงานให้กับองค์กร • ลดลำดับชั้นการบังคับบัญชาแบบเก่าที่ผูกไว้กับระบบ C (RC, PC, ARC) ธัญญา ผลอนันต์ / มกราคม 2545
กรอบการนำเสนอ เพื่อการพิจารณาข้อนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน การสร้างกำลังคนในราชการพลเรือนที่มีคุณภาพ มีสมดุลคุณภาพงาน คุณภาพชีวิต หลักการพัฒนาสมรรถนะ Competency หลักการบริหาร ผลงาน Performance หลักการพิทักษ์ ระบบคุณธรรม Merit การกระจายอำนาจการบริหาร การปรับปรุงแก้ไข กฎหมาย ระเบียบข้าราชการพลเรือน
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบข้าราชการพลเรือน และการกระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ปรับเปลี่ยนหลักการแนวคิดและหลักปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างกำลังคนคุณภาพ ระบบ โครงสร้างการบริหารRe-Structuring HR System ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง Re-Shaping HR Roles คุณภาพ คุณธรรม ข้าราชการ Re-Defining HR Merit • ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ • เครื่องมือ / กลไก ใหม่ • การบริหารระบบเปิด • Talent Inventory • Secondment Program • การกระจายอำนาจ / การ เสริมสร้างจังหวัดเข้มแข็ง • การพัฒนาศูนย์เครือข่าย • มาตรฐานวิชาชีพ • การประเมินผลสัมฤทธิ์ในการบริหาร (HR Scorecard) • ฐานข้อมูลกำลังคน • คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม • ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ • การพัฒนานักบริหาร • การพัฒนาข้าราชการรุ่นใหม่ • การพัฒนาคุณภาพงาน คุณภาพชีวิต
การปรับปรุงระบบการจำแนกตำแหน่งการปรับปรุงระบบการจำแนกตำแหน่ง และค่าตอบแทน
ระบบตำแหน่งในราชการพลเรือนระบบตำแหน่งในราชการพลเรือน 2518 2535 25XX 2550 • บริหารเชิงกลยุทธ์ • Knowledge Worker • หลักผลงาน • หลักสมรรถนะ • Equal pay for • work of equal value • ความเชี่ยวชาญเฉพาะ • จัดคนให้ตรงกับงาน • งานเท่ากันเงินเท่ากัน • หลักอาวุโส • Generalist ระบบคุณธรรม การกระจายอำนาจ
โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในปัจจุบันโครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในปัจจุบัน • ระบบจำแนกตำแหน่ง(Position Classification System) นำมาใช้ในการบริหารงานบุคคลแทนระบบชั้นยศเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 • จัดโครงสร้างทุกตำแหน่งตามระดับมาตรฐานกลาง (Common Level)เป็น 11 ระดับ ระดับ 11 ปลัดกระทรวง / ผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับ 10 อธิบดี / รองปลัดกระทรวง / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 รองอธิบดี / ผอ.สำนัก / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 8 ผอ.กอง หัวหน้ากลุ่มงาน ระดับ 7 หัวหน้าฝ่าย /งาน ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับปฏิบัติการ ระดับ 1-3 หรือ 4
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ดีอย่างไรระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ดีอย่างไร • การออกแบบระบบ • ความเป็นสากล • มุมมองที่แตกต่าง
การปรับเปลี่ยนมุมมองระบบบริหารข้าราชการการปรับเปลี่ยนมุมมองระบบบริหารข้าราชการ แนวคิดใหม่ แนวคิดเดิม • ข้าราชการผู้เชี่ยวชาญ • ผู้ชำนาญการเฉพาะด้าน • ยึดกระบวนการทำงานและ • ประสิทธิภาพเฉพาะส่วน • ข้าราชการผู้รู้รอบ รู้ลึก • มุ่งเน้นที่ประชาชน • สร้างคุณค่าและผลผลิต • ผลลัพธ์
หลักการปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่หลักการปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ • หลักการบริหารตำแหน่งใน “ระบบเปิด” • หลักการกระจายอำนาจการบริหารบุคคล • หลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • หลักอัตราตลาด • หลักความสามารถในการจ่าย
Broadbandingเป็นระบบที่สร้างขึ้นมาเพื่อปรับปรุงโครงสร้างของระบบเงินเดือน โดยลดโครงสร้างการจ่ายเงินเดือนของแต่ละกลุ่มอาชีพที่มีหลากหลายให้มีน้อยที่สุดแต่สามารถครอบคลุมการจ่ายของสายอาชีพต่างๆได้มากที่สุด การออกแบบจากแนวคิดการจัดโครงสร้างตำแหน่งแบบกว้างBroadbanding Broadbanding
Broadbanding ความหมายของBroadbanding - Broadbandingเป็น“ระบบโครงสร้างตำแหน่งและการจ่ายค่าตอบแทน ระบบหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ได้กับพนักงานทุกๆคนไม่ว่าจะอยู่ในสายอาชีพ ใดในองค์การ” (Soukhanov, 1997:100) การนำระบบค่าตอบแทนที่เดิมมีหลายระดับชั้นและมีสายอาชีพจำนวนมาก มาจัดเป็นกลุ่มให้มีจำนวนน้อยที่สุด (เอกสารประกอบ การประชุมสัมมนา IPMA) ระบบโครงสร้างเงินเดือนที่มีการจัดกระบอกเงินเดือนหลายระดับ (pay grades) มากำหนดเป็นโครงสร้างเงินเดือนที่มีกระบอกเงินเดือน เพียงไม่กี่ระดับ(Auxillium West)
Broadbanding ตัวอย่าง การจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนแบบ Broad Grades IIII III II 12 Grades Four “Broadbands” I IPMA 2006
Broadbanding คืออะไร? ระบบบริหารค่าตอบแทนที่ • ยุบกลุ่มงานเหลือน้อยลง (2-3) • หรือ รวบระดับงานเข้าเป็นช่วงกว้างเหลือเพียง 4-5 ระดับ • แต่ละช่วงเรียกว่าระดับหรือ band ครอบคลุมหลายกลุ่มงาน • ความก้าวหน้าในงานขึ้นกับความรับผิดชอบ/บทบาทที่สูงขึ้น ไม่เป็นไปตามอายุงานหรือการไต่เต้าแข่งกันขึ้นสู่สายงานบริหาร • ให้ความสำคัญกับคุณค่า/ผลงาน/ทักษะที่พนักงานให้กับองค์กร • ลดลำดับชั้นการบังคับบัญชาแบบเก่าที่ผูกไว้กับระบบ C (RC, PC, ARC) ธัญญา ผลอนันต์ / มกราคม 2545
ระบบบริหารงานบุคคลภายหลังการปรับปรุงจะเป็นอย่างไรระบบบริหารงานบุคคลภายหลังการปรับปรุงจะเป็นอย่างไร
ผลจากการศึกษา • ศึกษาจากเอกสาร อำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม ฝ่ายพลเรือนโครงสร้างการจัด • ส่วนราชการมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ภารกิจหลักของภาครัฐ ฯลฯ • พิจารณาจากแบบสอบถามจำนวนมากกว่า50,000 ชุด ที่จัดส่งให้ข้าราชการในกระทรวง • กรมต่าง ๆ กรอกข้อมูลลักษณะงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบ • การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ • การสัมภาษณ์เพื่อทราบรายละเอียดเกี่ยวกับงาน • การศึกษาดูงานในต่างประเทศ • ศึกษาเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลของที่ปรึกษา • การเทียบเคียงกับBest Practice
ประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ ประเภทอำนวยการ ประเภทบริหาร ตำแหน่งที่มีฐานะและหน้าที่ในการบริหารงาน เป็นหัวหน้าส่วนราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง กรม ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ในทางวิชาการหรือวิชาชีพ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ. กำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ทักษะความสามารถเฉพาะ หรือเทคนิคเฉพาะด้าน หรือให้บริการ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา และไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ตำแหน่งที่มีฐานะและหน้าที่ในการบริหารงาน (จัดการ)เป็นหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม
สรุปการจัดกลุ่มของงานและโครงสร้างตำแหน่งที่ปรับปรุงใหม่ ... • การจัดกลุ่มของงานในราชการพลเรือน • การกำหนดโครงสร้างตำแหน่งในราชการพลเรือน การจัดระเบียบภาพรวมของงาน ในราชการพลเรือนใหม่ 18 กลุ่มงาน (Job Families) <300 สายงาน (Role Profiles) 4 ประเภทตำแหน่ง 2-5 ระดับตำแหน่ง 8 กลุ่มอาชีพ (Occupational Groups) 440+ สายงาน (Class Series) 3 ประเภทตำแหน่ง 11 ระดับตำแหน่ง การปรับปรุงโครงสร้าง ตำแหน่งในราชการพลเรือน
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง สายงาน : นักวิชาการ.. ตำแหน่ง: ชั้นงาน (Level) : กลุ่มงาน : ตัวอย่าง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Job Specification) หรือมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ปรับปรุงใหม่ระบุสาระสำคัญของตำแหน่งซึ่งแยกเป็น 3 ส่วน 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ด้านปฏิบัติการ / งานเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ก. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ข. ด้านวางแผน ระบุหน้างานและรายละเอียดของหน้าที่รับผิดชอบหลักของชั้นงานในแต่ละสายงานอย่างชัดเจน 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ค. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ง. ด้านการประสานงาน ระบุวัตถุประสงค์ของแต่ละภาระหน้าที่อย่างชัดเจน โดยกำหนดผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์เป้าหมายของภาระหน้าที่นั้น 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก จ. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ฉ. ด้านการบริการ 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ช. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ซ. ระบุความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน ของชั้นงานในแต่ละสายงานอย่างชัดเจน 2. ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน ระบุสมรรถนะที่จำเป็นในงานของชั้นงานในแต่ละสายงานอย่างชัดเจน • สมรรถนะหลัก • สมรรถนะประจำกลุ่มงาน 3. สมรรถนะที่จำเป็นในงาน
ระบบค่าตอบแทนปัจจุบันระบบค่าตอบแทนปัจจุบัน ปัญหาต่างๆของระบบค่าตอบแทนทำให้เกิดผลกระทบต่อข้าราชการและระบบราชการในหลายด้าน Performance Oriented Seniority Based ความยุติธรรม ภายในภาครัฐ Goal • วิกฤตการดำรงชีพ • วิกฤตความเหลื่อมล้ำ • วิกฤตด้านเอกภาพการกำหนดค่าตอบแทน • วิกฤตด้านคุณภาพระบบราชการและ ขรก. • วิกฤตการฉ้อราษฎร์บังหลวง ความเหลื่อมล้ำ ภายในภาครัฐ ความไม่เป็นธรรม เมื่อเทียบกับอัตราตลาด เทียบเคียงได้กับ อัตราตลาด
ลักษณะของโครงสร้างเงินเดือนลักษณะของโครงสร้างเงินเดือน • เน้นค่างานมากกว่าคุณลักษณะบุคคล • ระดับตำแหน่งหลายระดับ • ช่วงเหลื่อมของขั้นเงินเดือนมาก • กำหนดเป็นขั้นเงินเดือน • อิงหลัก Learning Curve ในการ ออกแบบขั้นเงินเดือน Broad Bands • เน้นคุณลักษณะบุคคลควบคู่กับค่างาน • ระดับตำแหน่งน้อยลงมาก • กำหนดเป็นช่วงเงินเดือน • ช่วงเหลื่อมของขั้นเงินเดือนน้อย หรือ ไม่มีช่วงเหลื่อม Traditional Ranges
บาท บาท บาท บาท บาท ขั้นสูง 20,340 32,980 44,860 54,730 58,910 ขั้นต่ำ 8,870 13,110 19,290 23,670 27,600 ระดับ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ ตัวอย่าง บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่งประเภทวิชาการ
เขียนกฎหมายรองรับไว้อย่างไรเขียนกฎหมายรองรับไว้อย่างไร
ภารกิจเกี่ยวกับการจำแนกตำแหน่งตามร่างกฎหมายภารกิจเกี่ยวกับการจำแนกตำแหน่งตามร่างกฎหมาย หลักเกณฑ์การจัดประเภท ตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (Grade Description) ร่างมาตรา 44 ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญมี 4 ประเภท ร่างมาตรา 45 จำแนกระดับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ร่างมาตรา 47 ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กระจายอำนาจกำหนดตำแหน่ง ร่างมาตรา 46 การกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการกำหนดตำแหน่ง
หมวด 2 การกำหนดตำแหน่ง และการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง (มาตรา 43-50) บทเฉพาะกาล มาตรา 132 (ภายใน 1 ปี) 2 1 มาตรา 46 ให้อำนาจปลัดกระทรวงและอธิบดีกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการโดยคำนึงถึงหลักประสิทธิภาพประสิทธิผล/ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ.กำหนด/ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ก.พ.จัดทำมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง ก.พ.จัดตำแหน่ง ของทุกส่วนราชการ เข้าประเภท สายงาน ระดับตำแหน่ง ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง มาตรา 45 ระดับทรงคุณวุฒิ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับทักษะพิเศษ ชำนาญการพิเศษ ระดับอาวุโส 4 3 ประกาศใช้บทบัญญัติลักษณะ 4 และ 6 ระดับสูง ระดับสูง ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญงาน ก.พ.ประกาศให้ทราบ เริ่มนำบทบัญญัติ ลักษณะ 4 และ 6 มาใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ ก.พ. ประกาศ วันที่ประกาศใช้กฎหมาย ระดับต้น ระดับต้น ระดับปฏิบัติการ ระดับปฏิบัติงาน ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร 5 ผู้บังคับบัญชาสั่ง แต่งตั้งข้าราชการ ภายใน 30 วัน หลังการประกาศ มาตรา 44 มาตรา 47 ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งมีสาระสำคัญตามที่ระบุไว้ มาตรา 8 กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน
บริหาร ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ • กำหนดเป็น 4 ระดับ ตามช่วงค่างาน • เป็นกลุ่มตำแหน่งที่โดยพื้นฐานงานไม่ • ต้องการผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา • ปรับปรุงจากสายงานเริ่มต้น 1-3/2-4 • จัดตำแหน่งเดิมลงตามบทบาท • ที่แตกต่างกัน • ระดับทักษะพิเศษกำหนดสำหรับ • ลักษณะงาน (เฉพาะ) ที่ต้องอาศัยทักษะ • เฉพาะตัวอย่างสูงในการปฏิบัติงาน • ไม่กำหนดไว้ถาวร • ระยะเวลาดำรงตำแหน่งพิจารณา • จากการจ้างงานระยะยาว • ความก้าวหน้าของบุคคล • ขึ้นอยู่กับการเพิ่มพูนทักษะ • ตามความต้องการของตำแหน่ง ระดับสูง (ระดับ 10-11บส.) ระดับทรงคุณวุฒิ (ระดับ 10-11ชช./วช.) ระดับต้น (ระดับ 9บส.) ระดับสูง (ระดับ 9 บส.) ระดับเชี่ยวชาญ (ระดับ 9ชช./วช.) • กำหนดเป็น 2 ระดับ ตามช่วงค่างาน • จัดตำแหน่งเดิมลงตามบทบาทหน้าที่ของ • ตำแหน่ง โดยตำแหน่งรองหัวหน้าส่วนราชการ • ระดับกรมจัดเป็นระดับต้น และหัวหน้าส่วน • ราชการระดับกรม / รองปลัดกระทรวง / • ปลัดกระทรวง จัดเป็นระดับสูง ระดับต้น (ระดับ 8 บก.) ชำนาญการพิเศษ (ระดับ 8/8ว/8วช.) ระดับทักษะพิเศษ (ระดับ 8) ระดับชำนาญการ (ระดับ 6-7/6-7ว./วช.) ระดับอาวุโส (ระดับ 7) ระดับปฏิบัติการ (ระดับ 3-5) • กำหนดเป็น 2 ระดับ ตามช่วงค่างาน • จัดตำแหน่งเดิมลงตามบทบาทหน้าที่ของ • ตำแหน่ง หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง (บก) • หรือ สูงกว่ากอง (บส) ระดับชำนาญงาน (ระดับ 5-6) • กำหนดเป็น 5 ระดับ ตามช่วงค่างาน • โดยพื้นฐานงานต้องการผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา • ปรับปรุงจากสายงานเริ่มต้น 3-5/4-6 • จัดตำแหน่งเดิมลงตามบทบาทที่แตกต่างกันจากตำแหน่ง • ประเภททั่วไป (ประสบการณ์) ว. วช. และ ชช. • ระยะเวลาดำรงตำแหน่งพิจารณาจากการจ้างงานระยะยาว • ความก้าวหน้าของบุคคลขึ้นอยู่กับผลงาน ระดับสมรรถนะ • การเพิ่มคุณค่างาน ตามความต้องการของตำแหน่ง ระดับปฏิบัติงาน (ระดับ 1-4)
ข้อเสนอการเลื่อนระดับตำแหน่งในกลุ่มตำแหน่งประเภททั่วไปข้อเสนอการเลื่อนระดับตำแหน่งในกลุ่มตำแหน่งประเภททั่วไป MAX-POINT ระดับทักษะพิเศษ • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • รับเงินเดือนในอัตราสูงสุด(๕) • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลการประเมินทักษะของบุคคล • หรือผลงานเชิงประจักษ์ที่จำเป็น • สำหรับการดำรงตำแหน่ง(๖) • หมายเหตุ เงื่อนไขเกี่ยวกับตำแหน่ง • มีตำแหน่งระดับสูงว่างอยู่ • เลื่อนได้ไม่เกิน 1 ระดับ(๗) • กำหนดตำแหน่งที่ครองอยู่เป็นระดับสูงขึ้นได้ • โดยใช้เครื่องมือตามที่ ก.พ.กำหนด(๘) ระดับอาวุโส MID-POINT ระดับชำนาญงาน • การย้ายระหว่างสายงาน • (ตำแหน่งประเภทเดียวกัน) • ประเมินความเหมาะสม • สำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง • (ทักษะ ความสามารถ ฯลฯ) • ประเมินสมรรถนะที่เกี่ยวข้อง • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • ค่ากลางของกระบอกเงินเดือน • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ MID-POINT ระดับปฏิบัติงาน • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • ค่ากลางของกระบอกเงินเดือน(๒) • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี(๓) • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา(๔) • ผลการประเมินสมรรถนะ ระดับแรกบรรจุ รับเงินเดือนแตกต่างกัน ตามคุณวุฒิ(๑)
สาระสำคัญที่ต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับระบบใหม่สาระสำคัญที่ต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับระบบใหม่
Strategic 20% Strategic 10% Advisory 25% Advisory 30% Self-Supported Transactions 25% Self-ServeTransactions 30% Administration 60% HR Transformation Objective Reduce total investment Increase strategic alignment Leverage technology Source : Corporate Administrative Shared Services – CASS HR Implementation Team Human Resources Community Secretariat (HRCS) Ottawa, February 2nd – 3rd, 2005
ระบบจำแนกตำแหน่งมีความไม่ชัดเจนมีหลายสายงานทำงานซ้ำซ้อนกัน และบางสายงานที่มีหน้าที่หลากหลาย เปรียบเทียบระหว่างระบบเดิมและระบบใหม่ ระบบเดิม • เส้นทางก้าวหน้าของราชการส่วนใหญ่ก้าวหน้าอยู่ในสายงานของตน การสั่งสมความรู้จึงจำกัดเฉพาะในสายงาน ของตน • การโอนย้ายในสายงานเดียวกันแต่ลักษณะงานต่างกันออกไปสามารถทำได้ทันทีโดยไม่ประเมินและพิจารณาถึงศักยภาพของผู้ดำรงตำแหน่ง
ระบบใหม่ • มีการรวบระดับงานที่มีผลสัมฤทธิ์ของงานใกล้เคียงกันเข้าไว้ด้วยกัน กำหนดหน้าที่รับผิดชอบหลักที่ชัดเจนขึ้นในแต่ละระดับทำให้ข้าราชการรู้ว่าควรปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองอย่างไรจึงจะบรรลุผลสัมฤทธิ์ที่องค์กรคาดหวังและเป็นประโยชน์สูงสุดกับองค์กร • เส้นทางก้าวหน้ามีความยืดหยุ่นและอาจข้ามสายงานได้จึงเปิดโอกาสให้สะสมความรู้และเปิดโลกทัศน์ใหม่ได้กว้างขวางขึ้นกว่าเดิม • เส้นทางก้าวหน้าของราชการขึ้นอยู่กับทักษะ ความรู้และ competency และมีความยืดหยุ่นสูงจึงส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการพัฒนาตนเองเนื่องจากมีความชัดเจนว่าควรพัฒนาตนเองเช่นไรและอย่างไรจึงเหมาะสมกับสิ่งที่องค์กรคาดหวัง • การโอนย้ายระหว่างสายงานสามารถกระทำได้แต่ต้องผ่านการพิจารณาความรู้ ทักษะ และ competenciesเพื่อให้มั่นใจว่าเหมาะสมกับตำแหน่งงาน