1 / 17

บทที่ 5 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

บทที่ 5 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium). ความหมายของตลาด การติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการกันระหว่าง ผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้งในสถานที่ที่เป็นตลาดโดยทั่วไป เช่น ตลาดสามย่าน ตลาดประตูน้ำ รวมถึง การติดต่อกันทางจดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร หรือ พาณิชย์ อิเลคโทรนิค ฯลฯ.

lilka
Download Presentation

บทที่ 5 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) ความหมายของตลาด การติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้งในสถานที่ที่เป็นตลาดโดยทั่วไปเช่นตลาดสามย่านตลาดประตูน้ำ รวมถึงการติดต่อกันทางจดหมายโทรศัพท์โทรสารหรือพาณิชย์ อิเลคโทรนิคฯลฯ ประเภทของตลาดในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

  2. P Excess Supply S 50 D Q 200 300 400 ดุลยภาพของตลาดโดยใช้กลไกราคา E 30 Ø     ดุลยภาพของตลาด(Market Equilibrium)อยู่ณจุดที่อุปสงค์เท่ากับอุปทาน Ø     ราคาสินค้าจะที่ทำให้อุปสงค์เท่ากับอุปทานเรียกว่าราคาดุลยภาพ Ø     ปริมาณสินค้าณระดับราคาดุลยภาพเรียกว่าปริมาณดุลภาพ

  3. P P S S D0 D0 Q Q E E1 D1 D1 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์และอุปทาน (ที่ไม่ใช่ราคา) เช่นรายได้เทคนิคการผลิตการคาดคะเนของผู้บริโภคฯลฯ ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ · กรณีอุปสงค์เพิ่มขึ้น · กรณีอุปสงค์ลดลง E1 E

  4. P P S0 S0 D0 D0 E1 S1 S1 E Q Q E ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน · กรณีอุปทานเพิ่มขึ้น · กรณีอุปทานลดลง E1

  5. การเปลี่ยนแปลงทั้งระดับอุปสงค์และอุปทานการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับอุปสงค์และอุปทาน P S0 D0 S1 E Q D1 · กรณีอุปสงค์เพิ่มขึ้นมากกว่าอุปทานเพิ่มขึ้น E1

  6. การแทรกแซงกลไกตลาด • การแทรกแซงด้านราคา • การเก็บภาษีสินค้าและบริการ • การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Minimum Price Policy) • 1.   ประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support Policy) • 2.  การจ่ายเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy) • 3.   การลดปริมาณการผลิต (Product Restriction) • การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)

  7. P S0 D0 Po Q E Qd Qo Qs รัฐบาลต้องรับซื้อสินค้าส่วนเกิน = = การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support Policy) ผลของการแทรกแซง Excess Supply ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = Ps ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาแพงขึ้น =

  8. P S0 D0 Po Q E Qo รัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้ผู้ผลิต = = การจ่ายเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy) ผลของการแทรกแซง ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = Ps ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาเท่าเดิม (Po)

  9. P S0 S1 E1 D0 Po Q E Qo การลดปริมาณการผลิต (Product Restriction) ผลของการแทรกแซง ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = P1 ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาเพิ่มขึ้น = Q1 ผลของการลดปริมาณการผลิต คือ P สูงขึ้น แต่ Q ลดลง จาก Po Qo เป็นP1 Q1 แต่ผู้ผลิตจะมีรายรับเพิ่มขึ้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ Ed

  10. Ed = % Q / % P รายรับ = ราคา x ปริมาณ = P x Q ถ้า Ed > 1 รายรับจะลดลง ถ้า Ed < 1 รายรับจะเพิ่มขึ้น สมมุติ P เพิ่ม 10% , Q ลด 20% ถ้า รายรับเดิม = Po x Qo = 20 x 100 = รายรับใหม่ = P1 x Q1 = 22 x 80 = สมมุติ P เพิ่ม 20% , Q ลด 10% ถ้า รายรับเดิม = Po x Qo = 20 x 100 = รายรับใหม่ = P1 x Q1 = 24 x 90 =

  11. S Px E Pe Pc D Qx Qs Qd กำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) • เป็นการแทรกแซงเพื่อช่วยผู้บริโภค ผลของการแทรกแซง ผลิตและผู้บริโภคซื้อขายกันในราคา Pc เกิด Excess D = รัฐต้องใช้การปันส่วนสินค้า และหามาตรการป้องกันตลาดมืด Excess D

  12. S1 Px So P1 Tax Po Qx Q1 Qo การเก็บภาษีสินค้าและบริการ • เก็บภาษีต่อหน่วยผู้ขาย

  13. S1 รายได้ภาษีที่รัฐจัดเก็บ = So Px ผู้ซื้อเสียภาษี = P1 Eo ผู้ขายเสียภาษี = D TAX Po B Do Qx Q1 Qo การเก็บภาษีสินค้าและบริการ E1 *** ภาระภาษี จะตกอยู่กับผู้ซื้อและผู้ขายมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ Ed และ Es

  14. S1 So Px P1 Eo D Po B Do Qx Q1 Qo อุปสงค์มีความยืดหยุ่นต่ำ (0<Ed<1) ผู้บริโภครับภาระภาษีมากกว่า E1

  15. S1 So Px D Qx Q1 Qo อุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง (1>Ed<) ผู้ขายจะรับภาระภาษีมากกว่า E

  16. Px S Qx ทฤษฎีใยแมงมุม (Cobweb Theory) • อธิบายปรากฏการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งผู้ผลิตจะราคาสินค้าเกษตรในช่วงเวลาหนึ่งที่ผ่านมา เป็นตัวกำหนดปริมาณสินค้าที่จะขายในช่วงถัดไป ทำให้การเปลี่ยนแปลงของราคาและปริมาณของสินค้ามีลักษณะเหมือนใยแมงมุม P3 P1 D P2 Q3 Q2

  17. S1 So Px (บาท) 50 Eo 30 Do Qx (หน่วย) 100 150 • ก่อนเก็บภาษี ราคาดุลภาพเท่ากับ........บาท/หน่วย • รัฐบาลจัดเก็บภาษีในอัตรา.............บาท/หน่วย • ผู้ซื้อต้องรับภาระภาษีทั้งหมด.........บาท • ผู้ขายรับภาระภาษีทั้งหมด.......บาท • รายได้ของผู้ขายหลังเก็บภาษีมีค่าเท่ากับ.......บาท E1 20

More Related