1 / 30

Bios & Chipset

Bios & Chipset. BIOS. ย่อมาจาก Basic Input Output System ประกอบด้วยสองส่วนคือ โปรแกรมใน ROM โปรแกรมใน CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor). การทำงานของ BIOS.

liam
Download Presentation

Bios & Chipset

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Bios & Chipset

  2. BIOS • ย่อมาจาก Basic Input Output System ประกอบด้วยสองส่วนคือ • โปรแกรมใน ROM • โปรแกรมใน CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor)

  3. การทำงานของ BIOS • เมื่อคอมพิวเตอร์ PC ถูกรีเซต (Power-on Reset) จะกระโดดไปทำงานที่ตำแหน่ง FFFFF จากนั้นจะถูกสั่งให้ไปทำงานในส่วนของการตรวจสอบระบบ (POST หรือ Power-On Self-Test)

  4. การตั้งค่า BIOS • ในการติดตั้งเครื่องใหม่ ควรจดค่าที่ตั้งเอาไว้ก่อนการแก้ไขเสมอ โดยปกติค่าดีฟอลต์จะมีอยู่สองระดับคือ • power-on default (ระบบทำงานช้าที่สุด) • setup default (ค่ากลาง ๆ ) • การ Upgrade BIOS สามารถทำได้ถ้า ROM เป็นแบบ flash BIOS

  5. การตั้งค่า BIOS จะประกอบด้วย 8 กลุ่ม • Standard เป็นการติดตั้งอุปกรณ์มาตรฐาน • Advanced กำหนดค่าที่มีผลต่อการทำงานของเครื่อง • Chipset ส่วนใหญ่มักเป็นการตั้งความเร็วระหว่างชิปเซตกับ RAM • Plug&Play PCI • Integrated Peripheral • Power Managementกำหนดให้ PC ทำงานในโหมดประหยัดพลังงาน • Hard Disk Utility • Password

  6. ผู้ผลิต BIOS • Compag, IBM, HP • Award, AMI และ Phoenix

  7. ชิปเซต(Chipset) • เป็นส่วนหนึ่งที่จะกำหนดว่าเมนบอร์ดนี้จะใช้กับซีพียูรุ่นใดได้บ้าง • เป็นตัวบอกว่าจะต่อหน่วยความจำได้สูงสุดเท่าใด • การทำงานของชิปเซตแยกออกเป็นสองส่วน • North Bridge อยู่บน FSB ใช้สำหรับติดต่อกับ แคช,RAM และ AGP • South Bridge

  8. ความเป็นมา • การทำงานบน Motherboard ในอดีส จะประกอบด้วยไอซีดังนี้ • ส่วนควบคุมบัส (Bus Controller) • แอดเดรสบัฟเฟอร์ (Address Buffer) • ดาต้าบัฟเฟอร์ (Data Buffer) • ส่วนควบคุมอินเตอร์รัปต์ (Interrupt Controller) • ส่วนควบคุม DMA (DMA Controller) • ในรุ่น 286 จะเรียกว่าเป็นชิพเซ็ตรุ่นแรก (First Generation)

  9. หน้าที่ของชิพเซ็ต 1. สนับสนุนการทำงานของ CPU 2. สนับสนุนความเร็วของ CPU 3. สนับสนุน Multi-Processor 4. สนับสนุนการทำงานของ Cache Memory • สนับสนุนขนาดของ Cache Memory • สนับสนุนชนิดของ Cache Memory • สนับสนุนการเขียนข้อมูลลง Cache • การจัดหน่วยความจำในการใช้ Cache

  10. หน้าที่ของชิพเซ็ต (ต่อ) 5. สนับสนุนหน่วยความจำ DRAM • ขนาดของ DRAM สูงสุด • เทคโนโลยีของ DRAM • สนับสนุนการตรวจสอบ Parity • ควบคุมจังหวะการทำงานของหน่วยความจำ • ความสามารถในการตรวจพบหน่วยความจำ (Memory Auto detection)

  11. หน้าที่ของชิพเซ็ต (ต่อ) 6. ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์เพอริเฟอรัลและ I/O Bus • สนับสนุนชนิดของ I/O ที่ใช้ • ดูแลการทำงานของ Hard Disk Controller • ควบคุมระบบอินเตอร์รัปต์ • สนับสนุนระบบ USB • สนับสนุน AGP • สนับสนุน Plug-And-Play หรือ Pnp • สนับสนุน Power Management

  12. องค์ประกอบของชิปเซ็ต • System Controller • Memory Controller • Address Buffer • Data Buffer • Peripheral Controller

  13. System Controller • วงจรกำเนิดสัญญาณนาฬิกา (Clock Generator) • ระบบ Reset • สร้างสัญญาณควบคุมบัส (Bus Controller) • เป็นทางผ่านของสัญญาณร้องขอการติดต่อกับโปรเซสเซอร์ • ปัจจุบันเรียกชิปเซตพวกนี้ว่า North Bridge โดยรุ่นแรก ๆ ได้แก่เบอร์ 82C201 , 82C211 เป็นต้น

  14. Memory Controller • ใช้ในการสร้าง Page หน่วยความจำ • ใช้เป็น Cache Controller • จัดการ Data Cache • จัดการ Tag RAM

  15. Address Buffer • ใช้ขับกระแสให้กับแอดเดรสของหน่วยความจำที่ต้องการติดต่อ

  16. Data Buffer • เป็นตัวขับข้อมูลจากโปรเซสเซอร์ไปยังปลายทาง

  17. Peripheral Controller ชื่อเต็มคือ Intergrated Peripheral Controller หรือ IPC เป็นชิปที่มีความสำคัญรองมาจาก System Controller • Interrupt Controller • DMA Controller • Timer/Counter • DMA Page Register • Real Time Clock

  18. ชิปเซตสำหรับ 80486 ถือว่าเป็นชิปเชตยุคที่ 3 • สนับสนุนการใช้งานระบบ Local Bus และ ISA Bus • ชิปในรุ่นนี้ส่วนใหญ่มีสองตัวคือ • ทำหน้าที่เป็น System Controller,Memory Controller และ Address/Data Buffer ในตัวเดียวกัน • ทำหน้าที่เป็น Peripheral Controller ชิปเซตรุ่นนี้มีรหัสเรียกว่า 82350 Chipset

  19. ชิปเซตยุคที่ 5 ออกแบบมาเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ 2 ประการได้แก่ เทคโนโลยีของระบบบัส และเทคโนโลยีของไมโครโปรเซสเซอร์ โครงสร้างการทำงานถูกออกแบบมาให้ใช้กับระบบบัสของ PCI โดยมีการเชื่อมต่อที่เรียกว่า PCI Bridge โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ส่วน

  20. ส่วนที่ 1 • เป็นการเชื่อมต่อระหว่างโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำหลัก โดยมีชิปเซตที่เรียกว่า North Bridge ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมอัตราความเร็วในการสื่อสารข้อมูลผ่าน North Bridge กับ System Bus • ส่วนที่ 2 • เป็นส่วนเชื่อมต่อกับ PCI Bus โดยอาศัย North Bridge และลดความเร็วลงเหลือ 33 MHz • ส่วนที่ 3 • เป็นส่วนที่เชื่อมโยงกับกับ I/O ที่เป็น 8 บิต และ 16 บิต ชิปเซ็ตส่วนนี้เรียกว่า South Bridge • การสังเกตว่าชิปตัวใดเป็น North Bridge หรือ South Bridge ให้ดูที่ตัวอักษร ถ้าลงท้ายด้วย “X” จะเป็น North Bridge ถ้าลงท้ายด้วย “B” จะเป็น South Bridge

  21. ชิปเซต North Bridge • หน้าที่การทำงานหลักของชิปเซตประเภทนี้ได้แก่ • Host Interface • สื่อสารไปกลับระหว่าง North Bridge กับโปรเซสเซอร์ผ่าน Front Side Bus • DRAM Interface • Cache Interface • PCI Interface • การจัดการ Clock และ Power Management • AGP Interface

  22. ชิปเซต South Bridge เป็นชิปเซตที่ควบคุมการทำงานของ I/O และเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่าง PCI Bus กับ ISA Bus โดยประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ • PCI Bus Interface • System Reset • Interrupt • System Power Management • Timer/Counter • DMA • Universal Serial Interface (USB) • ISA Bus Interface • IDE Interface • Real Time Clock (RTC)

  23. ชิปเซตยุคที่ 6 • เป็นชิปเซตที่สนับสนุน Pentium และปรับปรุงให้มีประสิทธภาพดีขึ้น โดยใช้กับ Pentium II/III และ Celeron • มีการบรรจุระบบเสียงเข้าไปในชิปเซต

  24. ชิปเซตยุคใหม่ • เลิกใช้ PCI Bridge Architecture (Socket 7) เนื่องจากระบบนี้ไม่สอดคล้องกับระบบบัสที่มีความเร็วสูง เช่น 133 MHz • ใช้สถาปัตยกรรมแบบ Hub Architecture เช่นชิปเซตตระกูล i800 โดยการเชื่อมต่อกับส่วนต่าง ๆ จะใช้ topology ที่มีลักษณะฮับ

  25. ชิปเซตสำหรับ Pentium 4 • ของ Intel ตัวแรกคือ i850 ที่ทำงานด้วยความเร็วบัส 400 MHz รองรับหน่วยความจำแบบ RDRAM แต่ต้องใส่ครั้งละ 2 แผง • ต่อมาได้เพิ่มความเร็วบัสเป็น 533 MHz และชิปเซตที่ออกมาจะมีตัว E ตามหลัง

  26. อินเทลเซนตริโน • อินเทล เซนตริโน โมบายล์ เทคโนโลยี (Intel Centrino Mobile Technology) ได้พัฒนาออกไป 3 โมดูล ได้แก่ เพนเทียม M ที่มีชื่อว่า Banias, Intel 855 Chipset family และ ไวไฟ (Wi-Fi) โมดูล • การทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น (อินเทล เพนเทียม M) • ยืดอายุการใช้งานแบตเตอรี่ (อินเทล 855 ชิปเซต) • การเชื่อมต่อแบบไร้สาย (อินเทล PRO/Wireless เน็ตเวิร์ก คอนเน็กชัน)

  27. สถาปัตยกรรม เพนเทียม M • เพนเทียม M มีชื่อโค้ดเนมว่า Banias ใช้เทคโนโลยี 0.13 ไมครอน และใช้ทรานซิสเตอร์ 77 ล้านตัว • ทำงานแปดทิศทางด้วยแคช L2 ขนาด 1 MB และแคช L1 ขนาด 32kB

  28. ชิปเซตตระกูล 855 • ได้แก่ อินเทล 855PM (Odem) และ 855GM (Montara-GM) เป็นชิปเซตที่ออกแบบมาให้ทำงานในโหมดประหยัดพลังงาน ประหยัดระบบบัสของโปรเซสเซอร์และหน่วยความจำ

  29. อินเทล Pro/Wireless เน็ตเวิร์ก • ความสามารถทางด้านการสื่อสารไร้สาย สนัสนุนมาตรฐาน 802.11b WLAN และการเชื่อมต่อแบบไร้สายจากเน็ตเวอร์ก WLAN เช่น hot spots เป็นต้น

More Related