450 likes | 857 Views
การประมาณค่า. เพลิฬ สายปาระ. สถิติ. สถิติ. 1. สถิติเชิงพรรณนา. สถิติ. 1. สถิติเชิงพรรณนา. สถิติ. 2. สถิติเชิงอนุมาน. 1. สถิติเชิงพรรณนา. ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง. สถิติ. 2. สถิติเชิงอนุมาน. 1. สถิติเชิงพรรณนา. ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง. สถิติ. 2. สถิติเชิงอนุมาน. มีการสุ่มตัวอย่าง.
E N D
การประมาณค่า เพลิฬ สายปาระ
1. สถิติเชิงพรรณนา สถิติ
1. สถิติเชิงพรรณนา สถิติ 2. สถิติเชิงอนุมาน
1. สถิติเชิงพรรณนา ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง สถิติ 2. สถิติเชิงอนุมาน
1. สถิติเชิงพรรณนา ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง สถิติ 2. สถิติเชิงอนุมาน มีการสุ่มตัวอย่าง
ข้อมูล คำนวณ 1. สถิติเชิงพรรณนา ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง สถิติ 2. สถิติเชิงอนุมาน มีการสุ่มตัวอย่าง
ข้อมูล คำนวณ 1. สถิติเชิงพรรณนา ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง สถิติ 2. สถิติเชิงอนุมาน มีการสุ่มตัวอย่าง สุ่มตัวอย่าง ประชากร ตัวอย่าง สรุปผล คำนวณ
ข้อมูล คำนวณ 1. สถิติเชิงพรรณนา ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง สถิติ 2. สถิติเชิงอนุมาน มีการสุ่มตัวอย่าง สุ่มตัวอย่าง ประชากร ตัวอย่าง • การประมาณค่า • การทดสอบสมมติฐาน สรุปผล คำนวณ
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation)
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation)
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation)
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) ประชากร
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) ประชากร สุ่มตัวอย่าง
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) ประชากร สุ่มตัวอย่าง ตัวอย่าง
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) ประชากร สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) พารามิเตอร์ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) พารามิเตอร์ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
การประมาณค่าเฉลี่ยแบบจุด การประมาณค่าเฉลี่ยแบบจุด ตัวอย่างที่ 5.1 ในการประมาณราคาขายปลีกเฉลี่ยของเนื้อหมูแดงใน จังหวัดน่าน จึงได้ทำการสุ่มตัวอย่างผู้ค้าปลีกจากตลาดต่างๆ ในจังหวัด น่าน จำนวน 30 ร้านค้า สอบถามราคาขายเนื้อหมูแดงต่อกิโลกรัมได้ ข้อมูลดังนี้ จงประมาณราคาขายปลีกเฉลี่ยของเนื้อหมูแดงในจังหวัดน่านดังกล่าว โดยการใช้ตัวประมาณแบบจุด
5.1 การประมาณค่า • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation)
5.1 การประมาณค่า • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ช่วงของค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ช่วงของค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ช่วงของค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
5.1 การประมาณค่า • 2. การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation) พารามิเตอร์ พารามิเตอร์ ประมาณด้วย ช่วงของค่าสถิติ ประชากร ประมาณค่า สุ่มตัวอย่าง คำนวณค่าสถิติ ตัวอย่าง ค่าสถิติ
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง กรณีที่ 1 ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติทราบความแปรปรวนของประชากร
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง กรณีที่ 1 ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติทราบความแปรปรวนของประชากร กรณีที่ 2 ประชากรมีการแจกแจงแบบใดๆ และตัวอย่างขนาดใหญ่ • ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร • ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง กรณีที่ 1 ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติทราบความแปรปรวนของประชากร กรณีที่ 2 ประชากรมีการแจกแจงแบบใดๆ และตัวอย่างขนาดใหญ่ • ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร • ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร กรณีที่ 3 ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติหรือใกล้เคียงปกติ ไม่ทราบความแปรปรวนและตัวอย่างขนาดเล็ก
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง ตัวอย่างที่ 5.2จากตัวอย่างที่ 5.1 ถ้าความแปรปรวนของ ราคาเนื้อหมูแดงของน่าน ( ) เป็น 10.25 บาท2 จงประ มาณราคาเนื้อหมูแดงเฉลี่ยของกรุงเทพมหานครแบบ ช่วงที่ระดับ ความเชื่อมั่น 90% , 95% และ 99% ตามลำดับ
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง ตัวอย่างที่ 5.3สายการบินแห่งหนึ่งมักจะมีจำนวนที่นั่งที่ว่างใน การบินแต่ละเที่ยวและทราบว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของจำนวน ที่นั่งที่ว่างเป็น 4.1 ที่นั่ง จึงสุ่มตัวอย่างเที่ยวบินในปีที่แล้วมา 225 เที่ยวบิน คำนวณหาจำนวนที่นั่งว่างโดยเฉลี่ยเป็น 11.6 ที่นั่ง จงประมาณจำนวนที่นั่งว่างโดยเฉลี่ยต่อ 1 เที่ยวบิน ที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95%
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง ตัวอย่างที่ 5.4ในการประมาณเวลาเฉลี่ย ( ชั่วโมง ) ที่นักศึกษา ระดับปริญญาตรีในประเทศไทย ใช้ในการสืบค้นข้อมูลทางอิน เตอร์เนต จึงทำสุ่มตัวอย่างนักศึกษามา 1,500 คน มาสอบถาม ถึงเวลาที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนตและคำนวณหา เวลาเฉลี่ยเป็น 6.8 ชั่วโมง และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.5 ชั่วโมง จงประมาณเวลาที่นักศึกษาระดับปริญญาตรีในประเทศไทย ใช้ในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%
2. การประมาณค่าเฉลี่ยแบบช่วง ตัวอย่างที่ 5.5 จากการทดสอบอายุ (ชั่วโมง) การใช้งานของหลอด ไฟยี่ห้อ SANWA001 ซึ่งผู้ผลิตอ้างว่าจากการศึกษาในอดีตพบว่า หลอดไฟดังกล่าวมีการแจกแจงแบบปกติโดยทำการสุ่มตัวอย่าง หลอดไฟดังกล่าวมาทดสอบอายุการใช้งานในห้องปฏิบัติการจำ นวน 12 หลอด และคำนวณอายุการใช้งานเฉลี่ยของหลอดไฟดัง กล่าวเท่ากับ 1,598 ชั่วโมง และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 65 ชั่วโมง จงประมาณอายุการใช้งานเฉลี่ยแบบช่วงของหลอดไฟยี่ห้อ SANWA 001 ที่ระดับนัยสำคัญ 5%