1 / 34

แนวทาง โครงการตำบลต้นแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ปี 2557

แนวทาง โครงการตำบลต้นแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ปี 2557. นายวิทยา บุตรเพชรรัตน์ กลุ่มนโยบาย สำนักพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ. Outputs ที่ต้องการ. เข้าใจความหมายตำบลต้นแบบ รู้หลักการ รู้จุดที่มุ่งหวัง (End) เข้าใจกระบวนงาน ทราบปฏิทินการขับเคลื่อน การประเมินตำบลต้นแบบ

lee-romero
Download Presentation

แนวทาง โครงการตำบลต้นแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางโครงการตำบลต้นแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ปี 2557 นายวิทยา บุตรเพชรรัตน์ กลุ่มนโยบาย สำนักพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

  2. Outputs ที่ต้องการ • เข้าใจความหมายตำบลต้นแบบ • รู้หลักการ • รู้จุดที่มุ่งหวัง (End) • เข้าใจกระบวนงาน • ทราบปฏิทินการขับเคลื่อน • การประเมินตำบลต้นแบบ • การรายงานผล

  3. ทบทวนงานตำบลต้นแบบ • มีทิศทางที่ชัดเจน • เกิดรูปธรรมตำบลต้นแบบหลายพื้นที่ • การยอมรับของภาคส่วนในพื้นที่ • เป็นเวทีของประชาชนระดับตำบล • คตป. ยังไม่พอใจ • ทีม A ทีม B ไม่เข้มแข็ง • ขาดการประชาสัมพันธ์งาน • ขาดคู่มือที่ชัดเจน • ขาดการติดตามงาน • ในพื้นที่ไม่มีแผนบูรณาการ

  4. นิยามตำบลต้นแบบ • ตำบลต้นแบบ หมายถึง พื้นที่การบูรณาการความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ เพื่อดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ ซึ่งยึดกรอบแนวทางสายใยรักแห่งครอบครัวเป็นหลักการ โดยการขับเคลื่อนของกลไกในพื้นที่ • ตำบลต้นแบบ หมายถึง รูปแบบการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมในมิติพื้นที่ ซึ่งดำเนินการตามกรอบแนวทางสายใยรักแห่งครอบครัว โดยมีความมุ่งหมายให้คนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสวัสดิการถ้วนหน้า • ตำบลต้นแบบ หมายถึง พื้นที่ตำบลซึ่งมีการจัดสวัสดิการสังคมได้ด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรมตามแนวทางสายใยรักแห่งครอบครัว จนสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคมแก่พื้นที่อื่นได้

  5. วัตถุประสงค์ของตำบลต้นแบบวัตถุประสงค์ของตำบลต้นแบบ • เพื่อส่งเสริมและน้อมนำรูปแบบโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มาเป็นแนวพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรกลุ่มเป้าหมายและครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง • เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง มีการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเหมาะสมกับพื้นที่ • เพื่อส่งเสริมให้เกิดตำบลต้นแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมที่สามารถและเป็นแบบอย่างแก่พื้นที่ตำบล/ชุมชนอื่นได้

  6. จุดที่มุ่งหวัง (End) “ตำบล/ชุมชน สามารถจัดสวัสดิการสังคมได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ได้อย่างมีมาตรฐาน”

  7. หลักการตำบลต้นแบบ • กระบวนการดำเนินงานโดยใช้รูปแบบสายใยรักแห่งครอบครัวฯ • ระบบข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ กชช. ๒ ค • กิจกรรมการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมที่สอดคล้องหรือตอบสนองกับวิถีชีวิต สภาพปัญหา ศักยภาพ และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยนำ ๕ วิถีสายใยรักแห่งครอบครัว มาเป็นกรอบในการดำเนินกิจกรรม

  8. 5 แนวทางสายใยรักแห่งครอบครัว/เบญจวิถี • เลี้ยงลูกด้วยนมแม่สุขอนามัยในครัวเรือน • พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • ครอบครัวอบอุ่น • สรรค์สร้างการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี • เรียนรู้ตลอดชีวิต คือ แผนงาน 5 แผนงานตำบลต้นแบบ

  9. หลัก ๒ เตรียม • การเตรียมคน(ต.๑) • การเตรียมพื้นที่ (ต.๒)

  10. ทีม A= ทีม พม.จังหวัด • โครงสร้าง :พมจ. ประธานคณะทำงาน ผอ.สสว. ที่ปรึกษา หัวหน้าหน่วยงาน พม. ในจังหวัด เป็นกรรมการผอ.ศูนย์พัฒนาสังคม เป็น เลขานุการ • บทบาทหน้าที่ : การอำนวยการ คัดเลือกพื้นที่ นิเทศติดตาม • output:การประชุมปีละ ๔ ครั้ง

  11. ทีม B= ทีม พม.ตำบล • โครงสร้าง : หัวหน้าหน่วยงานเป็นประธานคณะทำงานผู้แทนหน่วยงาน พม.พส.รองประธานคณะทำงานผู้แทนหน่วยงาน ศพส.เป็นเลขานุการ ผู้แทน สสว. เป็นผู้ช่วยเลขานุการ • บทบาทหน้าที่ : สร้างตำบลต้นแบบตามกระบวนการ บูรณาการแผนลงในตำบลต้นแบบ • output: 1.เป็นพี่เลี้ยงให้กับทีม C 2.เกิดตำบลต้นแบบตามเป้าหมาย

  12. ทีม C= คณะทำงานขับเคลื่อนตำบลเชิงบูรณาการ • โครงสร้าง :ผู้นำ อปท. ผู้นำพื้นที่ อาสาสมัคร หน่วยงานในพื้นที่ • บทบาทหน้าที่ : เดินงานตำบลต้นแบบตามกระบวนงาน จัดสวัสดิการให้กลุ่มเป้าหมาย เป็นผู้ประเมินศักยภาพ • output: 1.ทีมงาน 2.แผนบูรณาการ 3.เป็นตำบลต้นแบบตามกระบวนงาน 4.ข้อมูลประเมินศักยภาพตำบลต้นแบบ

  13. การคัดเลือกพื้นที่ตำบลต้นแบบใหม่การคัดเลือกพื้นที่ตำบลต้นแบบใหม่ • เป็นพื้นที่ขยายผลตำบลต้นแบบ ฯ ในปี ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๖ • เป็นพื้นที่ที่ไม่เคยดำเนินการตำบลต้นแบบใหม่มาก่อน • เป็นพื้นที่เป้าหมายการจัดทำแผนที่ทุนทางสังคมของกระทรวง พม. • เป็นพื้นที่ซึ่งปราศจากความขัดแย้งทางการเมืองท้องถิ่น • เป็นพื้นที่สูง หรือพื้นที่นิคม พื้นที่ความมั่นคง พื้นที่เน้นของจังหวัด • ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่นยอมรับแนวทางโครงการตำบลต้นแบบ ทั้งนี้ พื้นที่ต้นแบบใหม่ ควรผ่านเกณฑ์อย่างน้อย ๔ ใน ๖ ข้อ

  14. หลัก ๕ รู้ ๑.รู้ชุมชน คือ การรู้พื้นที่ รู้คน รู้ประเพณีวัฒนธรรม ๒. รู้ปัญหา คือ รู้ข้อมูลปัญหาความต้องการของตำบล ๓.รู้วิธีการ คือ การแปลงข้อมูลมาเป็นโครงการ/กิจกรรม ๔. รู้งาน คือ รู้กระบวนการดำเนินกิจกรรมที่กำหนด เป็นเมนูในการแก้ไขปัญหาในชุมชน คือ ต้องมีแผนบูรณาการ ๕. รู้ติดตาม คือ การประเมินผลทั้งก่อน ระหว่าง และสิ้นสุดการดำเนินงาน

  15. End : “ตำบล/ชุมชน สามารถจัดสวัสดิการสังคมได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ได้อย่างมีมาตรฐาน”

  16. ระบบข้อมูลของตำบลต้นแบบระบบข้อมูลของตำบลต้นแบบ • ข้อมูล จปฐ.กชช.2 ค. • ข้อมูล อปท.1 • ข้อมูลของ อปท. และหน่วยงานในพื้นที่ • ข้อมูลครัวเรือนเพื่อการจัดสวัสดิการสังคม

  17. ประเภทของตำบลต้นแบบ 4 ตำบลต้นแบบ • ตำบลต้นแบบใหม่ • ตำบลต้นแบบเดิม • ตำบลต้นแบบขยาย • ตำบลต้นแบบมาตรฐานการจัดสวัสดิการสังคม

  18. กระบวนงานตำบลต้นแบบ ปี 57 • ตำบลต้นแบบใหม่ = 9 ขั้นตอน • ตำบลต้นแบบเดิม = 5 โครงการ • ตำบลต้นแบบมาตรฐาน= 12 ตำบล

  19. 9 ขั้นตอน ตำบลต้นแบบใหม่ • คัดเลือกพื้นที่ตำบลต้นแบบ • จัดทำเวทีค้นหาศักยภาพ และแต่งตั้ง ทีม C • พัฒนาศักยภาพทีม C • สำรวจข้อมูลครัวเรือนเพื่อการจัดสวัสดิการสังคม • ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติการตำบลต้นแบบ • จัดสวัสดิการสังคมและการบูรณาการภาคส่วนต่างๆ • ติดตามผลตำบลต้นแบบ • ถอดบทเรียนตำบลต้นแบบ • ประเมินการจัดสวัสดิการสังคมตำบลต้นแบบ

  20. 5 โครงการตำบลต้นแบบเดิม • โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็ง • โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการตำบลต้นแบบ • โครงการคลินิกสวัสดิการสังคม • โครงการปรับปรุงรูปแบบการจัดสวัสดิการ • โครงการตำบลแม่แบบการจัดสวัสดิการสังคม

  21. ค.พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็งค.พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็ง • หา training needs การพัฒนาศักยภาพจากตำบล/ชุมชน • จัดทำหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ • ดำเนินการพัฒนาศักยภาพตามหลักสูตร • ติดตามผลและประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลต้นแบบฯ • สรุปรายงานผล Unit cost : 33,630 บาท/ตำบล

  22. โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการตำบลต้นแบบโครงการจัดทำแผนปฏิบัติการตำบลต้นแบบ • จัดเวทีวิเคราะห์ศักยภาพตำบลต้นแบบฯ • ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมตำบลต้นแบบ ฯ • บูรณาการแผนการกับหน่วยงานในพื้นที่ • รวบรวมแผนและสนับสนุนการดำเนินงานตามแผน • สรุปรายงานผล Unit cost : 34,100 บาท/ตำบล

  23. โครงการคลินิคสวัสดิการสังคมโครงการคลินิคสวัสดิการสังคม • จัดทำคลินิกสวัสดิการใน ศพส. จัดหน่วย Mobile • อบรมเจ้าหน้าที่คลินิกสวัสดิการ (โดยส่วนกลาง) • ให้บริการคำปรึกษาแก่ตำบล /ชุมชน/จดหมายข่าว • ออกหน่วย Mobile ให้คำปรึกษา แนะนำแก่ ทีม C • สรุปรายงานผล Unit cost : 25,000 บาท/ตำบล

  24. โครงการปรับปรุงรูปแบบการจัดสวัสดิการโครงการปรับปรุงรูปแบบการจัดสวัสดิการ • ประชุมทีม A กำหนดพื้นที่และเตรียมความพร้อม • จัดทำเวทีพัฒนารูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน /ท้องถิ่น • จัดทำแผนชุมชน/ท้องถิ่นในการปรับปรุงการจัดสวัสดิการ • ดำเนินการตามแผนปรับปรุง • สรุปรายงานผล Unit cost : 75,000 บาท/ตำบล

  25. โครงการตำบลแม่แบบการจัดสวัสดิการสังคมโครงการตำบลแม่แบบการจัดสวัสดิการสังคม • กำหนดพื้นที่ตำบลแม่แบบจากข้อมูลผลการประเมิน • Workshop ทีม C ภาคีในพื้นที่ เพื่อกำหนดรูปแบบ ทิศทาง แนวทางของตำบลด้านสวัสดิการ • จัดทำแผนการพัฒนาตำบลแม่แบบ • ดำเนินการไปสู่การเป็นตำบลแม่แบบตามแผน • ถอดบทเรียน • สรุปรายงานผล Unit cost : 75,000 บาท/ตำบล

  26. ค.ตำบลต้นแบบการจัดสวัสดิการที่มีมาตรฐานค.ตำบลต้นแบบการจัดสวัสดิการที่มีมาตรฐาน • จัดทำมาตรฐานการจัดสวัสดิการของตำบล / ชุมชน • ฝึกอบรม และดูงานการจัดสวัสดิการตำบลที่ได้มาตรฐาน • ส่งเสริมตำบลนำร่องการจัดสวัสดิการสังคมที่ได้มาตรฐาน • ถอดบทเรียน และสังเคราะห์รูปแบบการจัดสวัสดิการตำบล / ชุมชนที่ได้มาตรฐาน • สรุปผล และรายงานผล เป้า :12 ตำบล

  27. ปฏิทินตำบลต้นแบบ ปี 57

  28. การประเมินตำบลต้นแบบ • เผยแพร่ผลการประเมินปี 56 • ดำเนินการประเมินต่อเนื่องปี 57 • ปรับปรุงเครื่องมือการประเมิน • ใช้ประโยชน์ข้อมูลผลการประเมิน

  29. การรายงานผล • รายงานผลปีละ 3 ครั้ง : 6/9/12 เดือน • ปรับแบบรายงานผลให้สั้นแต่ได้สิ่งที่จำเป็นต้องใช้งาน • เพิ่มการติดตามผลโดยการประชุม และการลงพื้นที่

  30. ปัจจัยความสำเร็จของตำบลต้นแบบปัจจัยความสำเร็จของตำบลต้นแบบ • ความเข้าใจของผู้บริหาร อปท.และผู้ปฏิบัติงานใน อปท. • การยอมรับและใช้เบญจวิถีเป็นกรอบในการจัดสวัสดิการ • ทีม พม. จังหวัด/ทีม พม.ตำบล • การคัดเลือกพื้นที่ • ความเข้มแข็งของทีม C • การบูรณาการทุกภาคส่วนในตำบล • การจัดกลุ่มตำบลต้นแบบอย่างมีประสิทธิผล

  31. Outputs ตำบลต้นแบบปี 57 • ตำบล A รักษาคุณภาพได้ โดยไม่ตกมาเป็น B • ตำบล B ขยับมาเป็น A มากกว่าร้อยละ 40 • ตำบล C ขยับมาเป็น B หรือ A มากกว่าร้อยละ 15 • ตำบลต้นแบบมีผลการประเมินโดยรวมดีกว่าปี 56 • KM ตำบลต้นแบบ • ทำเนียบตำบลต้นแบบ ปี 54-56

  32. ความท้าทาย • ส่งเสริมการศึกษาวิจัยตำบลต้นแบบ • ผลักดันตำบลต้นแบบให้เป็นงานแถวหน้าของกระทรวง • สร้างนวัตกรรมการจัดสวัสดิการสังคมในตำบลต้นแบบ • จัดงานวันตำบลต้นแบบ พร้อมมอบโล่เชิดชูเกียรติ • การเข้าสู่มาตรฐานการจัดสวัสดิการ • ผลักดันตำบลต้นแบบสู่ประชาคมอาเซียน

  33. ขอขอบคุณ วิทยา บุตรเพชรรัตน์ o 2659 6124 083 - 1306007

More Related