1 / 56

แผนสุขภาพเขต ( ทันต สาธารณสุข) เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 ปี 2557

แผนสุขภาพเขต ( ทันต สาธารณสุข) เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 ปี 2557. ข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิ. จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ. จำนวน รพ.สต.และ ศสม. ที่มีทัน ตาภิ บาล ยู นิต ทันตก รรม. แสดงจำนวน ทันตแพทย์ เฉพาะสาขาทางทันตก รรม ของสถานบริการสุขภาพ. สถานการณ์ ทันต สุขภาพ. ฟันผุในเด็กปฐมวัย.

Download Presentation

แผนสุขภาพเขต ( ทันต สาธารณสุข) เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 ปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนสุขภาพเขต (ทันตสาธารณสุข)เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6ปี 2557

  2. ข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิ

  3. จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ

  4. จำนวน รพ.สต.และศสม. ที่มีทันตาภิบาล ยูนิตทันตกรรม

  5. แสดงจำนวนทันตแพทย์เฉพาะสาขาทางทันตกรรม ของสถานบริการสุขภาพ

  6. สถานการณ์ทันตสุขภาพ

  7. ฟันผุในเด็กปฐมวัย เป้าหมาย <50% ในปี 2560

  8. ฟันผุในเด็กวัยเรียน เป้าหมาย <55%

  9. Oral cancer

  10. ผลการตรวจราชการ ปี 2556

  11. ทันตสุขภาพ

  12. 1(16) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ

  13. 20.3 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช

  14. 24.1 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก 24.2 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับเคลือบหลุมร่องฟัน

  15. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

  16. วิสัยทัศน์ ; ปชช. มีทันตสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ด้วยเครือข่ายบริการที่เข้มแข็ง มีคุณภาพมาตรฐาน ภายใน ปี 2559 เป้าประสงค์ : 1. ลดปัญหาทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย 2. ประชาชนรู้เท่าทันปัจจัยเสี่ยง และมีพฤติกรรมทันตสุขภาพที่เหมาะสม 3. ประชาชนได้รับบริการที่ มีคุณภาพมาตรฐานและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ลดอัตราการตายจาก มะเร็งช่องปาก แหล่งเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพ และ ป้องกันโรค เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อทันต เพิ่มสภาวะปราศจากฟันผุในเด็กวัยเรียน เร่งรัดการลดอัตราการเกิดฟันผุในเด็กปฐมวัย ประสิทธิผล ขยายการดำเนินงานจัดบริการทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน พัฒนามาตรฐานการบริการทันตกรรมใน CUP/รพ.สต. สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พัฒนาการ สส.ทันตสุขภาพในกลุ่มวัยแรงงาน และ NCD ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการจัดบริการ คุณภาพบริการ บูรณาการเรื่องทันตฯในประเด็นสุขภาพสำคัญของประเทศ สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพในทุกระดับ พัฒนาระบบ คัดกรองมะเร็งช่องปาก ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันต. พัฒนาศักยภาพ ผสอ.ในการดูแลทันตสุขภาพเด็ก ประสิทธิภาพ เร่งรัดพัฒนาทันตบุคลากรให้เป็นผู้จัดการเครือข่าย พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน พัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยี การ สส/ทป.ช่องปาก ขยายระบบข้อมูล และเฝ้าระวังทันตสุขภาพ พัฒนาองค์กร

  17. SRM วิสัยทัศน์ : ประชาชนมีทันตสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ด้วยเครือข่ายบริการสุขภาพที่เข้มแข็ง • เป้าประสงค์..ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • สร้างแกนนำทันตสุขภาพในชุมชน • เป้าประสงค์.เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ • ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะ/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ ประชาชน เป้าประสงค์..แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ • พัฒนา อสม.ให้เป็นแกนนำด้านทันตฯ • พัฒนาชมรม ผสอ.ให้มีทักษะในการดูแลทันตฯเด็ก • สนับสนุนให้เอกชน/ภาคอื่นๆร่วมจัดบริการ เป้าประสงค์..ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการพัฒนางานวิชาการ/วิจัย • ติดตามกำกับประเมินผล • พัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้ เป้าประสงค์..อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข • สนับสนุนให้เกิดแผนพัฒนาทันตฯระดับตำบล • สนับสนุนทรัพยากรในการจัดบริการปฐมภูมิร่วมกับ สธ • จัดระบบติดตามกำกับประเมินผล. เป้าประสงค์..โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ • พัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบเครือข่าย รร. • บูรณาการ ทันตฯในการเรียนการสอน • กำหนดนโยบาย/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตฯ • พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตฯและประเมินผล ภาคี • เป้าประสงค์.หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการปฐมภูมิ(ทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน)ใน รพ.สต. และ ศสม.ให้ครอบคลุม • พัฒนามาตรฐาน/คุณภาพการจัดบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ • สนับอัตรากลัง และครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ตามมาตรฐานทุกระดับ • เป้าประสงค์.มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ • พัฒนาทักษะบุคลากรในการกำกับติดตาม และประเมินผล • พัฒนาระบบติดตามกำกับประเมินผลในทุกระดับ กระบวนการ • เป้าประสงค์..มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล • พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในด้านทันตสุขภาพ • เป้าประสงค์.ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • เร่งรัดในการพัฒนาให้มีทักษะในการบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข รากฐาน

  18. แผนส่งเสริมป้องกัน เน้นหนักการแก้ไขปัญหาฟันผุเด็กปฐมวัย และวัยเรียน บริการขั้นพื้นฐานตามกลุ่มวัย และประเด็นสำคัญ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สุขภาพสตรี และทารก + BS สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS สุขภาพเด็กนักเรียน + BS สุขภาพวัยรุ่น + BS ป้องกันควบคุม NCD(DM&HT) เฝ้าระวัง และคัดกรองมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ

  19. แผนงานพัฒนา

  20. สตรี เด็ก 0 – 2 ปี และเด็ก 3 – 5 ปี ANC WBC ศูนย์เด็กเล็ก • ป้องกัน/บรรเทาการ • ติดเชื้อในช่องปาก • ป้องกันการส่งผ่านเชื้อ • จากแม่สู่ลูก • เตรียมพร้อมแม่ในการ • ดูแลสุขภาพช่องปากลูก • ป้องกันการเกิดฟันผุ • ปลูกฝัง/พัฒนาทักษะ • ผปค.ในการดูแลสุขภาพ • ช่องปากเด็ก • สร้างความคุ้นชินกับ • เด็ก • ป้องกัน/ลดการลุกลาม • การเกิดฟันผุ • สร้างนิสัยในการดูแล • ภาพช่องปากให้เด็ก GOAL = ฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ในปี 2560

  21. หญิงมีครรภ์มีอนามัยช่องปากที่ดีหญิงมีครรภ์มีอนามัยช่องปากที่ดี ลดการติดเชื้อ ลดการถ่ายทอดเชื้อ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง ควบคุมอาหาร ชุมชน ลดคราบจุนทรีย์ สร้างการเรียนรู้ เด็กก่อนวัยเรียนปราศจากฟันผุ ทันตกรรมป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามกำกับ ผู้ดูแลเด็ก จนท. สธ

  22. ๑. แผนงานการดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท

  23. ๒.แผนการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิดถึง 2 ปีอย่างมีคุณภาพ๒๓,๒๖๘,๗๕๐ บาท

  24. ๓. แผนงานการดูแลสุขภาพเด็กอายุ 3-5 ปีอย่างมีคุณภาพ ๕,๔๐๐,๐๐๐บาท

  25. แผนงานการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนอย่างมีคุณภาพ ๑๗,๗๐๐,๐๐๐ บาท GOAL = ฟันผุไม่เกินร้อยละ 55

  26. แผนงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดันโลหิตสูง)๒๐๐,๐๐๐ บาท

  27. แผนงานการเฝ้าระวังและดูแลคนไทยจากโรคมะเร็ง๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

  28. แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท

  29. แผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายแผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย มุ่งพัฒนา 3 setting - ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล - โรงเรียน - เครือข่ายอำเภอ และตำบล (DHS)

  30. แผนบริการ(Service Plan)

  31. เป้าหมาย • ประชาชนเข้าถึงบริการทันตกรรม ร้อยละ ๒๐ • ระยะรอคอยการใส่ฟันเทียมไม่เกิน ๖เดือน • เด็กปฐมวัยมีฟันผุไม่เกินร้อยละ ๕๐

  32. พัฒนาระบบตติยภูมิ

  33. ประเด็นการพัฒนาทันตกรรมเฉพาะทาง ตามแผน พบส.และระบบการส่งต่อ • Oro- facial infection • Maxillofacial trauma • Benign and malignant tumor • Cleft lip & palate • Implant CPG คน ของ

  34. - Oro- facialinfection- Maxillofacialtrauma

  35. - Cleft lip Cleft Palate- Benign – Malignant tumor- Implant

  36. เรื่องหารือ จาก รพ.มะเร็ง กรณีฉายรังสี • ก่อนฉายรังสี • ใครจะเป็นคนวาง treatment plan เตรียมช่องปาก • รพ.ที่ส่งตัวมาเตรียมช่องปาก ?? • หลังฉายรังสี • ส่งกลับ รพ.ต้นสังกัด / รพ.ในถิ่นอาศัยของผู้ป่วย ดูแลต่อเนื่อง/ Home care ??

  37. พัฒนาระบบทุติยภูมิ

  38. พัฒนาระบบปฐมภูมิ

  39. แผนบริหาร

  40. แผนลงทุน

  41. แผนกำลังคน

More Related