1 / 49

O-NET GAT PAT และ Admissions

O-NET GAT PAT และ Admissions. โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน. ปรับปรุงล่าสุด 2 กุมภาพันธ์ 2552. ช่องทางเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐ. การเข้ามหาวิทยาลัยมี 2 ช่องทาง 1. ระบบรับตรง โควตา พิเศษ มหาวิทยาลัยทำเอง รับ 50% ของที่นั่ง รู้ผล ธันวาคม

lee-rocha
Download Presentation

O-NET GAT PAT และ Admissions

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. O-NET GAT PAT และ Admissions โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน ปรับปรุงล่าสุด 2 กุมภาพันธ์ 2552

  2. ช่องทางเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐช่องทางเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐ การเข้ามหาวิทยาลัยมี 2 ช่องทาง 1. ระบบรับตรง โควตา พิเศษ มหาวิทยาลัยทำเอง รับ 50% ของที่นั่ง รู้ผล ธันวาคม 2. ระบบรับกลาง (Admission กลาง) นักเรียนต้องสมัคร เสียค่าสมัคร 4 ลำดับ 250 บาท รู้ผลช่วงปลายเมษายน

  3. Admissions กลาง คืออะไร คือการรับคนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ 23 แห่ง องค์ประกอบ ปี 2549 – 2552 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบ ดังนี้ GPAX (6 ภาคเรียน) 10% GPA (3-5 จาก 8 กลุ่มสาระ) 20% O-NET (4-5 วิชาหลัก) 35-70% A-NET/วิชาเฉพาะ/วิชาปฏิบัติ (รวมไม่เกิน 3 วิชา)0-35% รวม 100%

  4. Admissions กลาง ปี 2553 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบ ดังนี้ GPAX 6 ภาคเรียน 20% O-NET (8 กลุ่มสาระ) 30% GAT 1 ฉบับ 10-50% PAT หลายฉบับ 0- 40% รวม 100%

  5. Admissions กลาง GPAXคือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ GAT คือ General Aptitude Test ความถนัดทั่วไป PAT คือ Professional and Academic Aptitude Test ความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ

  6. Admissions กลาง O-NET (Ordinary National Educational Test) คือ การสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น (6 ภาคเรียน)ของชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ นักเรียนที่กำลังจะจบชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 สอบได้ 1 ครั้ง

  7. Admissions กลาง A-NET (Advanced National Educational Test) คือ การสอบความรู้ขั้นสูงของวิชาต่างๆ 11 วิชาเฉพาะนักเรียน ม.6 ที่จะเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐในระบบ Admission ปี 2549 – 2552 จัดสอบเดือนมีนาคมของทุกปี นักเรียนสามารถเก็บคะแนนไว้ได้ 2 ปี และเลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด

  8. O-NET สอบอะไร 1. วิชาภาษาไทย

  9. O-NET สอบอะไร 2. วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

  10. O-NET สอบอะไร 3. วิชาภาษาอังกฤษ

  11. O-NET สอบอะไร 4. วิชาคณิตศาสตร์

  12. O-NET สอบอะไร 5. วิชาวิทยาศาสตร์

  13. O-NET สอบอะไร 6. รวม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้ใน 1 ฉบับ สุขศึกษาและพลศึกษา

  14. O-NET สอบอะไร 6. รวม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้ใน 1 ฉบับ วิชาศิลปะ

  15. O-NET สอบอะไร 6. รวม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้ใน 1 ฉบับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี

  16. จำนวนผู้เข้าสอบและสังกัดจำนวนผู้เข้าสอบและสังกัด

  17. จำนวนผู้เข้าสอบและสังกัดจำนวนผู้เข้าสอบและสังกัด

  18. จำนวนผู้เข้าสอบและสังกัดจำนวนผู้เข้าสอบและสังกัด

  19. วิธีการจัดสอบ • ผู้ออกข้อสอบ คือ ครูและอาจารย์มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญในวิชานั้นๆ • ออกข้อสอบ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และออกข้อสอบให้มีข้อที่ยากปานกลาง เป็นส่วนใหญ่ • การจัดสอบใช้เครือข่าย 3.1 O-NET ป.6 1) เขตพื้นที่การศึกษา 185 แห่ง 2) ท้องถิ่นจังหวัด 75 แห่ง 3) สำนักการศึกษาเมืองพัทยา 1 แห่ง 4) สำนักการศึกษากทม. 1แห่ง รวม 262 แห่ง

  20. วิธีการจัดสอบ (ต่อ) 3.2 O-NET ม.3 1) เขตพื้นที่การศึกษา185 แห่ง 2) ท้องถิ่นจังหวัด 70 แห่ง 3) สำนักการศึกษาเมืองพัทยา 1 แห่ง 4) สำนักการศึกษากทม. 1แห่ง รวม 260 แห่ง 3.3 O-NET ม.6 มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ 19 แห่ง

  21. ระเบียบการเข้าห้องสอบระเบียบการเข้าห้องสอบ ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบ ห้ามนำเครื่องมือสื่อสารเข้าห้องสอบ ให้นั่งสอบจนหมดเวลา ใส่นาฬิกาดูเวลาได้ แต่ต้องไม่ใช่นาฬิกามือถือ

  22. ค่าสถิติคะแนน O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2550

  23. ค่าสถิติคะแนน O-NET ม.6 ปีการศึกษา 2550 (29 ก.พ. – 1 มี.ค. 51)

  24. ค่าสถิติคะแนน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET ม.6 3 ปี

  25. ความถนัดทั่วไป (GAT : General Aptitude Test) สอบ 3 ชั่วโมง การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ มี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา จำนวน 20 ข้อ 150 คะแนน ส่วนที่ 2 คือ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษจำนวน 60 ข้อ 150 คะแนน

  26. ความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT : Professional and Academic Aptitude Test) มี 7 ประเภท โดยสอบประเภทละ 3 ชั่วโมง 300 คะแนน PAT 1ได้แก่ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2ได้แก่ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ PAT 3ได้แก่ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ PAT 4ได้แก่ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT 5ได้แก่ ความถนัดทางครู PAT 6ได้แก่ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ PAT 7ได้แก่ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส PAT 7.4 ภาษาจีน PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน PAT 7.5 ภาษาบาลี PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น PAT 7.6 ภาษาอาหรับ

  27. ตัวอย่างข้อสอบ GAT / PAT

  28. GAT ความถนัดทั่วไป

  29. PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์

  30. PAT2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์PAT2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์

  31. PAT3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์PAT3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

  32. PAT4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์PAT4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์

  33. PAT5ความถนัดทางวิชาชีพครูPAT5ความถนัดทางวิชาชีพครู

  34. PAT6ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์PAT6ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์

  35. ที่อยู่ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 128 อาคารพญาไท พลาซ่า ชั้น 36 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 02 – 219 – 2992 – 5 Call Center 02 – 975 – 5599 เวลา 07.00 – 19.00 น. ตั้งแต่ 1 พ.ย. 51 – 31 พ.ค. 52 โทรสาร 02 – 219 – 2996 Website www.niets.or.th

More Related