230 likes | 404 Views
สรุปผลเบื้องต้น สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553. การประชุมเครือข่าย ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK). ครั้งที่ 3/2554 วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554. ความเป็นมา. กระทรวงมหาดไทย. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. จัดทำ. จัดทำ. ครั้งที่ 6-10, 11. ครั้งที่ 1-5. (ปี 2 452 2490).
E N D
สรุปผลเบื้องต้น สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 การประชุมเครือข่าย ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK) ครั้งที่ 3/2554 วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ความเป็นมา กระทรวงมหาดไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ จัดทำ จัดทำ ครั้งที่ 6-10, 11 ครั้งที่ 1-5 (ปี 24522490) (ปี 2503 2543,2553) เรียก “สำมะโนครัว”
ความถี่ในการจัดทำ ประเทศไทย จัดทำทุก 10 ปี ตามข้อเสนอแนะของ องค์การสหประชาชาติ (ใน ปี ค.ศ. ที่ลงท้ายด้วย “0”)
1-30 ก.ย. 53 สำมะโนประชากร ครั้งที่ 11 สำมะโนเคหะ ครั้งที่ 5 เป็นวาระครบรอบ 100 ปี สำมะโนประชากร ของประเทศไทย
สรุปผลเบื้องต้น ที่สำคัญ
ณ วันสำมะโน (1 กันยายน พ.ศ.2553) ประชากรที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย 65.4 ล้านคน
การกระจายตัวของ ประชากร รายภาค 11.4 ล้านคน 17.5 % 18.8 ล้านคน 18.1 ล้านคน 27.7 % 28.7 % 8.2 ล้านคน 8.8 ล้านคน 12.6 % 13.5 %
จังหวัดที่มีประชากรสูงสุด 10 อันดับ จังหวัด คน
การกระจายตัวของประชากรการกระจายตัวของประชากร
ประชากร 65.4 ล้านคน เพศใดมากกว่า? ชาย 32.1 ล้านคน(49.1%) หญิง 33.3ล้านคน (50.9%) อัตราส่วนเพศ 96.3
ประชากร 65.4 ล้านคน เป็นสัญชาติอื่นเท่าใด? สัญชาติไทย 62.1 ล้านคน (94.9%) สัญชาติอื่น 3.3 ล้านคน (5.1%)
ล้านคน 65.4 การเปลี่ยนแปลงประชากรประเทศไทยในรอบ 100 ปี 2553 2462 2453 2472 2480 2490 2503 2513 2523 2533 2543
อัตราการเพิ่มประชากร อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) ประชากร (ล้านคน) จำนวนประชากร อัตราเพิ่มประชากรต่อปี
แผนภูมิ 3 อัตราเพิ่มประชากรต่อปี จำแนกตามภาค พ.ศ. 2533-2543-2553 ร้อยละ ภาค ใต้ กลาง ทั่วราช กรุงเทพ เหนือ ตะวันออก อาณาจักร มหานคร เฉียงเหนือ (ไม่รวม กทม.)
แผนงานการประมวลผล และนำเสนอรายงานผล
แผนงานการประมวลผล และนำเสนอรายงานผล
แผนงานการประมวลผล และนำเสนอรายงานผล
แผนงานการประมวลผล และนำเสนอรายงานผล
รูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลรูปแบบการเผยแพร่ข้อมูล • รายงาน /Pocket book/ VCD • แผ่นพับ • Internet • Data warehouse • GIS • Census Info
การวิเคราะห์ข้อมูล • ผู้สูงอายุ • ภาวะเจริญพันธุ์ • การย้ายถิ่น • ประชากรแฝง • การทำงาน • การศึกษา • ความยากจน ฯลฯ