1 / 27

การเขียนบรรณานุกรม ( Bibliography )

การเขียนบรรณานุกรม ( Bibliography ). หมายถึง รายการเอกสารต่างๆ ที่ใช้ประกอ บ การเขียนรายงาน โดยระบุ รายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้แต่ง และ ร ายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือเล่ม นั้น ๆ เพื่อใช้เป็นหลักฐานว่าผู้ทำรายงานค้นคว้า จากตำราต่าง ๆ ซึ่งทำให้รายงานเรื่องนั้นน่าเชื่อถือ

lala
Download Presentation

การเขียนบรรณานุกรม ( Bibliography )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนบรรณานุกรม (Bibliography) • หมายถึง รายการเอกสารต่างๆ ที่ใช้ประกอบการเขียนรายงาน โดยระบุรายละเอียดเกี่ยวกับผู้แต่ง และ รายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือเล่มนั้นๆ เพื่อใช้เป็นหลักฐานว่าผู้ทำรายงานค้นคว้า จากตำราต่างๆ ซึ่งทำให้รายงานเรื่องนั้นน่าเชื่อถือ • ตัวอย่างบรรณานุกรม หน้า 142 , 144

  2. ส่วนประกอบของรายการบรรณานุกรมส่วนประกอบของรายการบรรณานุกรม • 1. ผู้แต่ง - กาญจนา นาคนันทน์, ทบวงมหาวิทยาลัย, Rowling, J.K. • 2. ชื่อเรื่อง - ผู้กองยอดรัก, Harry Potter : the goblet of fire • 3. ครั้งที่พิมพ์- พิมพ์ครั้งที่ 2, พิมพ์ครั้งที่3 ปรับปรุง, 2nd ed., 3rd ed.

  3. 4. สถานที่พิมพ์- กรุงเทพฯ, London, (ม.ป.ท.), (n.p.) • 5. สำนักพิมพ์ - สำนักพิมพ์แพร่พิทยา, McGraw-Hill, ทบวงมหาวิทยาลัย (ม.ป.ท.), (n.d.) • 6. ปีที่พิมพ์ - 2545, 2002, (ม.ป.ป.), (n.d.) ส่วนประกอบทั้งหมดต้องเรียงลำดับให้ถูกต้องจาก 1 - 6 และ ถูกกฎ

  4. 1. ผู้แต่ง : บุคคล • 1.1 ผู้แต่งที่เป็นบุคคล เช่น ธนู กุลชล, ทมยันตี ฯลฯ • Jackson, M.H. หนังสือภาษาอังกฤษใช้นามสกุล ขึ้นก่อน ตามด้วยชื่อต้น และ ชื่อกลาง • ถ้าผู้แต่งมี 2, 3 คน ใช้ “ และ“ หรือ “and” เชื่อม • ถ้ามีมากกว่า 3 คน จะลงเฉพาะชื่อผู้แต่งคนแรก แล้วต่อด้วย ข้อความว่า “ และคณะ“ หรือ “ และคนอื่นๆ “ หรือ “ et al.”

  5. 1.2 ผู้แต่งที่เป็นบุคคล ที่มีฐานันดรศักดิ์ หรือ บรรดาศักดิ์ เช่น ม.ร.ว. , ม.ล. , พระบาทสมเด็จพระ, หลวง ฯลฯ ให้เขียนไว้หลังชื่อ เช่น * ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ให้เขียนว่า คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.* พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้เขียนว่า พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ * หลวงวิจิตรวาทการ ให้เขียนว่า วิจิตรวาทการ, หลวง

  6. 1.3 ผู้แต่งที่มียศทางทหาร ตำรวจ เช่น พลเอก, ร.ต.ต. ฯลฯ * มีตำแหน่งทางวิชาการ เช่น ผศ.,รศ. ศจ. ฯลฯ * เป็น นายแพทย์, สัตวแพทย์, หรือ ดร. ฯลฯไม่ต้องใส่ยศ หรือ ตำแหน่ง เหล่านี้ นำหน้าชื่อผู้แต่งเช่น * พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ให้เขียนว่า เปรม ติณสูลานนท์ * รศ. ลักษณา สตะเวทิน ให้เขียนว่า ลักษณา สตะเวทิน

  7. 1.4 ผู้แต่งที่มีฐานะเป็นผู้รวบรวม (compiler) หรือ บรรณาธิการ (editor) ให้ใส่คำว่า “ผู้รวบรวม หรือ บรรณาธิการ “ ไว้ท้ายชื่อ เช่น สมใจ บุญศิริ, บรรณาธิการ เป็นต้น • 1.5 หนังสือไม่ปรากฎชื่อผู้แต่งในตัวเล่ม ให้ลงชื่อเรื่อง ไว้ในตำแหน่งผู้แต่ง เช่น เกิดมาสวย. กรุงเทพฯ: ดวงกมล, 2546.

  8. 1. ผู้แต่ง : สถาบัน • ผู้แต่งที่เป็นสถาบัน เช่น มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ธนาคารกรุงเทพ, กระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ • ถ้ามีหน่วยงานย่อยๆ ให้เรียงตามลำดับหน่วยงานใหญ่ ไปหาหน่วยงานย่อย โดยมีจุดคั่น เช่น * มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. คณะมนุษยศาสตร์. ภาควิชาภาษาอังกฤษ. * กระทรวงศึกษาธิการ. กรมสามัญศึกษา

  9. ลัลลนา ศิริเจริญ และ สุมาลี นิมานุภาพ ลัลลนา ศิริเจริญ, สุมาลี นิมานุภาพ และวรรณี พุทธเจริญทอง ลัลลนา ศิริเจริญ และคณะ หรือ ลัลลนา ศิริเจริญ และคนอื่นๆ คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. เทพรัตนราชสุดาฯ, สมเด็จพระ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาไฟฟ้า สมใจ บุญศิริ, บรรณาธิการ Gliedman, J. ; Roth, W. ; and Dillen, L., editors หนังสือที่ไม่ปรากฏผู้แต่งให้ลงชื่อเรื่องในตำแหน่งผู้แต่ง ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้แต่ง

  10. 2. ชื่อเรื่อง • ให้ใช้ชื่อที่ปรากฏในหน้าปกในเป็นหลัก และ ให้ขีดเส้นใต้หรือใช้อักษรตัวหนา หรือ ตัวเอน ชื่อเรื่องที่เป็นภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้นทุกคำ หรือจะใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้นเฉพาะคำแรกก็ได้ เช่น * ลัลลนา ศิริเจริญ. ความรู้ทั่วไปทางภาษาไทย . * ลัลลนา ศิริเจริญ. ความรู้ทั่วไปทางภาษาไทย . * ลัลลนา ศิริเจริญ. ความรู้ทั่วไปทางภาษาไทย. * Jackson, M.H., et al. Environmental health. * Jackson, M.H., et al. Environmental Health.

  11. 3. ครั้งที่พิมพ์ • ให้ยึดตามหน้าปกในเป็นหลัก โดยหนังสือที่พิมพ์มากกว่าหนึ่งครั้ง คือ หนังสือที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่ 2 ขึ้นไป จึงจะนำมาใส่ในการ เขียนบรรณานุกรม โดยเขียนตามที่ปรากฎในหน้าปกใน เช่น * พิมพ์ครั้งที่ 2 หรือ 2nd ed. * พิมพ์ครั้งที่ 3 หรือ 3rd ed. * พิมพ์ครั้งที่ 4 แก้ไขและเพิ่มเติม หรือ4th ed. , rev. and enl.

  12. 4. สถานที่พิมพ์ • ชื่อเมืองที่พิมพ์หนังสือ โดยทั่วไปจะปรากฎที่หน้าปก ในหน้าหลังหน้าปกใน หรือ หน้าสุดท้ายของหนังสือ เช่น * กรุงเทพฯ , ขอนแก่น, เชียงใหม่ ฯลฯ * London, Cambridge, Mass. ฯลฯ • ถ้าไม่ปรากฎให้ลง (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.)

  13. 5. สำนักพิมพ์ • ผู้รับผิดชอบในการจัดพิมพ์หนังสืออาจเป็น สำนักพิมพ์ หรือ หน่วยงานก็ได้ • ถ้ามีทั้งโรงพิมพ์ และสำนักพิมพ์ให้ใช้สำนักพิมพ์เป็นหลัก ถ้าไม่มีสำนักพิมพ์จึงใช้โรงพิมพ์ เช่น สำนักพิมพ์แพร่พิทยา, Longman ฯลฯ • ถ้าเป็นหน่วยงานจะเรียงลำดับจากหน่วยงานย่อย ไปหาหน่วยงานใหญ่ เช่น ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

  14. ถ้าไม่ปรากฎสำนักพิมพ์ให้ลง (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.)เหมือนไม่ปรากฎสถานที่พิมพ์ • ถ้าไม่ปรากฎทั้งสถานที่พิมพ์ และสำนักพิมพ์ ให้ใช้ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.) แทนเพียงครั้งเดียว

  15. 6. ปีที่พิมพ์ • ให้ใส่เฉพาะตัวเลข เช่น 2546, 2003 ฯลฯ * ไม่ต้องระบุคำว่า พ.ศ. หรือ ค.ศ. • ถ้าไม่ปรากฎให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) หรือ (n.d.) • ถ้าไม่ปรากฎทั้งสถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., ม.ป.ป.) * หรือ (n.p., n.d.)

  16. รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม : หนังสือ • รูปแบบ • ผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์, ปีพิมพ์. • ผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. แปลโดย ผู้แปล. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์, ปีพิมพ์

  17. รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม : หนังสือ • ธงชัย สันติวงษ์. พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2533. • มาซารุ, อิบุกะ. รอให้ถึงอนุบาลก็สายเสียแล้ว. แปลโดย ธีระ สมิตร และ พรอนงค์ นิยมค้า. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน, 2528.

  18. Tichner, Fred J. “Apprenticeship and employee training” in The new encyclopedia Britannica. p. 1018-1023. Chicago: Encyclopedia Britannica, 1981.

  19. รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม : วารสาร * รูปแบบ : วารสาร * ผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ.” ชื่อ วารสาร ปีที่: ฉบับที่ (เดือน ปี): เลขหน้า. * ธนิศา บุญถนอม. “ชีวิตหอยโข่ง นิเวศวิทยาริมทุ่ง.”สารคดี 6:68 (ตุลาคม 2533): 150-160 .

  20. รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม : หนังสือพิมพ์ • รูปแบบ : หนังสือพิมพ์ • ผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ.” ชื่อหนังสือพิมพ์ (วัน เดือน ปี): เลขหน้า. • เกษม สิริสัมพันธ์. “อย่าทำเรื่องเล็ก.” สยามรัฐ(3 เม.ย. 2534): 3, 5

  21. บรรณานุกรม : สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หนังสือ • รูปแบบ : ข้อมูลจากหนังสือ หรือที่เป็นเนื้อหา • ผู้แต่ง. “ชื่อเรื่อง.” (คำบอกประเภทของสื่อ). แหล่งที่มา: ชื่อแหล่งข้อมูล ปีที่พิมพ์. • “ไอศกรีม.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http: www.car.chula. 2540.

  22. บรรณานุกรม : สื่ออิเล็กทรอนิกส์วารสาร • รูปแบบ : ข้อมูลจากบทความวารสาร • ผู้แต่ง. “ชื่อบทความ.” ชื่อวารสาร. (คำบอกประเภทของสื่อ). ปีที่: ฉบับที่ (เดือน ปี): เลขหน้า. แหล่งที่มา: ชื่อของแหล่งข้อมูล • Erway, R.L. “Digital initial of the research libraries group.” D-Lib magazine. (Online).16:6 (December 1999): 14-18. Available: http: www.dlib december 96.html.

  23. วิธีเรียงบรรณานุกรม • การเรียงบรรณนานุกรมใช้ หลักเดียวกับการเรียงคำในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน โดยคำที่มีตัวสะกดจัดเรียงไว้ก่อนคำ ที่มีรูปสระตามลำดับ ตั้งแต่ กก-กฮ • คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเดียวกัน เรียงตามรูปสระ ดังนี้ ะ อั อัะ า อำ อิ อี อึ อื อุ อู เ เ-ะ เ-า เอิ เอี เอีะ เอืะ แ แ-ะโ โ-ะ ใ ไ

  24. ( ตัวอย่างหน้า 140 - 143 ) • ถ้ามีสิ่งพิมพ์ผู้แต่งคนเดียวกันอยู่ติดกันให้ใช้ขีดเส้นใต้ที่ชื่อผู้แต่งของบรรณานุกรมชิ้นที่ 2แทนการเขียนชื่อเต็ม ( ตัวอย่างหน้า 139 )

  25. การพิมพ์บรรณานุกรม • โดยทั่วไปจะแบ่งตามเอกสารตามลำดับ (1) หนังสือ รวมบทความในหนังสือ (2) บทความ รวมบทความในวารสาร หนังสือพิมพ์ (3) เอกสารอื่นๆ • การพิมพ์บรรณนุกรม จะเริ่มจากบรรทัดแรก ของเอกสารแต่ละรายการโดยพิมพ์ ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย บรรทัดต่อไป ให้ย่อหน้า 3 ช่วงตัวอักษร โดยเริ่มขึ้นต้นอัก

  26. การพิมพ์บรรณานุกรม • การเว้นเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี้ • หลังเครื่องหมายมหัพภาค ( . Period ) เว้น 2 ระยะ • หลังเครื่องหมาย จุลภาค ( , comma) ,มหัพภาคคู่ (: colons ) อัญประกาศ (“ ” Quotation marks ) เว้น 1 ระยะ

  27. จบ ขอให้ได้ A

More Related