1 / 36

ศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนก โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในองค์การบริหารส่วนตำบล ปี 2550

ศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนก โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในองค์การบริหารส่วนตำบล ปี 2550. หฤทัย ทบวงษ์ศรี บงกช หงส์คำมี สมจิตร พันธุโพธิ์ สวัสดิ์ บุญฝั้น. คำถามการวิจัย. คำถามการวิจัย. รูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนกของชุมชน เป็นแบบไหน ?

Download Presentation

ศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนก โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในองค์การบริหารส่วนตำบล ปี 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนกศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนก โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในองค์การบริหารส่วนตำบล ปี2550 หฤทัย ทบวงษ์ศรี บงกช หงส์คำมี สมจิตร พันธุโพธิ์ สวัสดิ์ บุญฝั้น

  2. คำถามการวิจัย

  3. คำถามการวิจัย • รูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนกของชุมชน เป็นแบบไหน ? • ชุมชนจะมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังไข้หวัดนก อย่างไร? • องค์การบริหารส่วนตำบล มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไร ?

  4. คำถามการวิจัย รูปแบบ การเฝ้าระวังไข้หวัดนกของชุมชน ? - ในธรรมชาติ - เป็นแบบไหน - สิ่งที่ต้องการ - ใครต้องการ

  5. คำถามการวิจัย ชุมชนจะมีส่วนร่วมอย่างไร ในการเฝ้าระวังไข้หวัดนก ? - ร่วมอยู่แล้ว - ยังไม่เคยเข้าร่วม - มีใครบ้าง

  6. คำถามการวิจัย องค์การบริหารส่วนตำบล มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไร ? - ทำอะไร - พรบ. สาธารณสุข - วิธีการเข้าร่วม - บทบาท

  7. ก่อนตอบคำถามการวิจัย แนวคิดชุมชนเข้มแข็ง แนวคิดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน แนวคิดการเฝ้าระวัง

  8. ก่อนตอบคำถามการวิจัย 1. การแก้ไขปัญหาไข้หวัดนกจำเป็นต้อง ดำเนินงานอย่างบูรณาการและเป็นระบบ 2.การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเป็นแนวคิด ในการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ซึ่งชุมชนสามารถมองเห็นว่าเป็นปัญหาที่สำคัญของชุมชน ชุมชนก็สามารถจัดทำแผนปฏิบัติ และมีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อให้มีการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในชุมชน ซึ่งก็จะเกิด ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

  9. ประชาชนสามารถ แสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อม และสังคมโดยรวมได้ อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา

  10. 3 ก.เพื่อชุมชนเข้มแข็ง อปท กรรมการ 2. กระบวนการ บริหารจัดการ 1.สมรรถนะ ขององค์กร อสม. / แกนนำชุมชน กองทุนสุขภาพ กองทุน กำลังคน 3. บทบาทภาคี (ภาครัฐและเอกชน)

  11. คำตอบการวิจัย

  12. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ สภาพปัญหาของชุมชน ลักษณะความเข้มแข็งของชุมชน กิจกรรมการ ดำเนินงานของชุมชนด้านการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก

  13. ระเบียบวิธีวิจัย รูปแบบ: การวิจัยและพัฒนา ( Research and Development) ประชากรที่ศึกษา : ชายหรือหญิงอายุตั้งแต่ 18 ปี- 60 ปี 1 ตัวแทนภาครัฐ 2 ผู้เลี้ยงสัตว์ปีกในพื้นที่ 3 แกนนำในชุมชน 4 ตัวแทน อสม. 5 ตัวแทนประชาชนในหมู่บ้าน รวมทั้งหมด 40 คน

  14. ระเบียบวิธีวิจัย พื้นที่ศึกษา : ตำบลที่เคยเป็นพื้นที่ที่มีสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ หรือพื้นที่เกิดโรคไข้หวัดนกในคน ในจังหวัดขอนแก่นโดย ศึกษาข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา และปศุสัตว์ จังหวัด 3 ปีย้อนหลัง ขนาดตัวอย่าง : 1 ตำบล (16 หมู่บ้าน) ตำบลโคกสำราญ กิ่งอำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น

  15. ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 คัดเลือกตำบลโคกสำราญ ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสถานการณ์การพัฒนาของตำบล วิเคราะห์ SWOT สัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการพัฒนาโดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ และส่งเสริมให้เกิดประชาคมสุขภาพด้าน การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม PRA =Participatory Rural Appraisal ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล CIPP Model

  16. ระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือ: 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบเค้าโครงคำถามในการสนทนากลุ่ม 3. วิเคราะห์ SWOT 4. PRA =Participatory Rural Appraisal 5. การประเมินผล CIPP Model

  17. ผลที่ชื่นชอบ

  18. ผลการศึกษา 1. การวิเคราะห์ถึงปัจจัยภายในที่มีผลต่อสภาพของชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดนก 2. ข้อมูลความรู้และการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง 3. กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. รูปแบบการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดนก โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 5. การประเมินผลโครงการ

  19. แผนที่ยุทธศาสตร์ 1. มีโครงการของชุมชน บุคคล มีบทบาท ประชาชนมีบทบาท 2. 3. มีระบบเฝ้าระวัง มีมาตรการสังคม ภาคีแข็งแกร่ง อปท.มีส่วนร่วม บริหารจัดการดี มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ รากฐานแข็งแรง มีการสร้างนวัตกรรม

  20. ผลการศึกษา 1. บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบล อบต. หรือหน่วยงานท้องถิ่นควรมีบทบาท ในการป้องกันไข้หวัดนก โดยการเข้ามาพัฒนาหมู่บ้านในเรื่องโรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะในการป้องกันไข้หวัดนก โดยมีการจัดทำแผนการจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันไข้หวัด

  21. ผลการศึกษา บทบาทของชุมชน หากมีไข้หวัดนกเกิดขึ้นจะมีขั้นตอนดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านรู้และห้ามแตะต้องซากสัตว์ 2. ให้มีการทำลายสัตว์ปีกให้หมดภายในเขต รัศมี 1 กิโลเมตร ทุกชนิดที่ทำได้ 3. พ่นยาฆ่าเชื้อโดยอสม.และปศุสัตว์ 4. ทำความสะอาดส่วนบุคคล 5. เฝ้าระวังในหมู่บ้านข้างเคียงโดยแจ้งข่าว ไปยังหมู่บ้านติดต่อให้มีการระวัง

  22. ผลการศึกษา 2. ระบบการจัดการของชุมชนและตำบล 1. ระบบปกติ 2. ระบบไม่ปกติ/ระบบการรายงานโรค

  23. ผลการศึกษา 3. มีมาตรการทางสังคม

  24. สรุปผลการศึกษา ได้รูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในองค์การบริหารส่วนตำบลจะมีข้อบัญญัติในการควบคุมไข้หวัดนก มีนโยบายสุขภาพภาคประชาชน มีแผนชุมชนการเฝ้าระวังควบคุมโรคที่จัดขึ้นโดยชุมชน มีระบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนกทั้งในสถานการณ์ปกติ และสถานการระบาด มีระบบการเตือนภัยและมีการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร โดยประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการควบคุม และเฝ้าระวังไข้หวัดนกได้เป็นอย่างดี

  25. รูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนกรูปแบบการเฝ้าระวังไข้หวัดนก

  26. การป้องกันส่วนบุคคล

  27. อาคารและระบบEvap

  28. ไก่วัด

  29. ทำแผนปฏิบัติการ

  30. ร่วมด้วยช่วยกัน

  31. มีส่วนร่วม

  32. ข้อคิดและข้อแนะนำ

  33. ข้อคิด 1. จุดอ่อนในการศึกษาวิจัยแบบหารูปแบบ Model 2.

  34. ข้อเสนอแนะ ในการดำเนินการเฝ้าระวังไข้หวัดนกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน อย่างจริงจัง เพราะถึงแม้ว่าภาคประชาชนจะมีความเข้มแข็ง แต่ถ้าองค์การบริหารส่วนตำบลไม่ให้การสนับสนุนงบประมาณ กิจกรรมบางอย่างก็ไม่สามารถบรรลุผลได้ ดังนั้นภาคองค์การบริหารส่วนตำบลต้องตระหนัก และให้ความร่วมมือพิจารณาแผนงานโครงการ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพประชาชนที่เป็นปัญหาสำคัญเร่งด่วน

More Related