1 / 50

Quality Control

Quality Control. Quality control. Prevention. Appraisal. Statistical Process Control (SPC). Inspection. Control charts. Run tests. Variables charts ( x -chart, R -chart) Attributes charts ( p -chart, c -chart). Median test - Up/down test.

kris
Download Presentation

Quality Control

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Quality Control Quality control Prevention Appraisal Statistical Process Control (SPC) Inspection Control charts Run tests • Variables charts • (x-chart, R-chart) • Attributes charts • (p-chart, c-chart) • Median test • - Up/down test

  2. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable • -chart และ-chart -chart -chart

  3. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable

  4. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable

  5. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable

  6. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable จากแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยพบว่า x ของตัวอย่างที่ 23 มีค่าเท่ากับกับ 220 ซึ่งมากกว่าค่าของขีดจำกัดควบคุมด้านบน (217.82) และจากแผนภูมิควบคุมพิสัย R พบว่าตัวอย่างที่ 16 มีค่าเท่ากับ 43 ซึ่งมากกว่าค่าของขีดจำกัดควบคุมด้านบน (41.63) ดังนั้น สรุปได้ว่ากระบวนการผลิตชิ้นส่วนประกอบหลอดไฟไม่อยู่ในมาตรฐาน จึงต้องทำการปรับปรุงเพื่อหาพิกัดใหม่

  7. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable

  8. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable กล่าวโดยสรุป เมื่อทำการปรับปรุงค่าโดยตัดข้อมูลทั้ง 2 แล้วส่งผลให้ค่า CL, LCL และ UCL เปลี่ยนแปลง ดังนี้ เมื่อพิจารณาพบว่าไม่มีข้อมูลใดตกอยู่นอกขีดจำกัดดังกล่าวอีก ซึ่งขีดจำกัดใหม่ที่ได้จากการปรับปรุงนี้จะใช้เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบค่าเฉลี่ยและพิสัยต่อไป

  9. Exercise จากข้อมูลของความหนาจานเบรกที่เก็บจากสายการผลิตวันละ 2 ครั้งคือตอนเช้าและตอนบ่าย สำหรับ 12 วันทำงาน แสดงดังนี้ N = 4 A2 = 0.729 D3 = 0 D4 = 2.282 จงสร้างแผนภูมิควบคุม X-chart และ R-chart พร้อมทั้งปรับปรุงแผนภูมิควบคุม โดยถือว่าจุดที่ออกนอกแผนภูมิควบคุมสามารถหาสาเหตุได้ทั้งหมด

  10. Xbar-chart R-chart

  11. ข้อมูลเส้นผ่านศูนย์กลางก้านวาล์วข้อมูลเส้นผ่านศูนย์กลางก้านวาล์ว

  12. Xbar-chart R-chart

  13. Quality Control Quality control Prevention Appraisal Statistical Process Control (SPC) Inspection Control charts Run tests • Variables charts • (x-chart, S-chart) • Attributes charts • (p-chart, c-chart) • Median test • - Up/down test

  14. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable • แผนภูมิ x และแผนภูมิ S เมื่อ S เป็นค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง เมื่อเปรียบเทียบแผนภูมิ R และแผนภูมิ S พบว่าแผนภูมิ R คำนวณง่ายกว่า แต่แผนภูมิ S จะมีค่าที่แม่นยำกว่า โดยเฉพาะเมื่อจำนวนตัวอย่างมากกว่า 10 ตัวอย่าง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างคำนวณได้จาก เมื่อ S คือค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง xi คือค่าที่วัดได้ของแต่ละตัวอย่าง n คือจำนวนตัวอย่างในแต่ละกลุ่มตัวอย่าง

  15. แผนภูมิควบคุมสำหรับการวัดแบบตัวแปร Control Chart for Variable • -chart และ-chart -chart -chart

  16. ข้อมูลเส้นผ่านศูนย์กลางก้านวาล์วข้อมูลเส้นผ่านศูนย์กลางก้านวาล์ว ที่ n = 4

  17. Quality Control Quality control Prevention Appraisal Statistical Process Control (SPC) Inspection Control charts Run tests • Variables charts • (x-chart, R-chart) • Attributes charts • (p-chart, c-chart) • Median test • - Up/down test

  18. แผนภูมิควบคุมเชิงคุณภาพControl chart for attributes • แผนภูมิควบคุมลักษณะ หมายถึง ลักษณะคุณภาพของสินค้าที่สอดคล้องหรือไม่กับข้อกำหนดหรือมาตรฐานการผลิต อาจอ้างอิงด้วยคำว่า ของดี แทนสินค้าที่มีลักษณะถูกต้องตามกำหนด ของเสีย แทนสินค้าที่คุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกำหนด สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท คือ 1. ลักษณะคุณภาพที่วัดไม่ได้ วัดยาก เช่น ความสวยงาม สีสัน รอยตำหนิ สภาพเก่าใหม่ 2. ลักษณะคุณภาพที่วัดได้ แต่ไม่ได้วัดเนื่องจากเสียเวลามาก เสียค่าใช้จ่ายมาก เช่น น้ำหนักซองบรรจุ

  19. แผนภูมิควบคุมเชิงคุณภาพControl chart for attributes • แผนภูมิตามลักษณะ • แผนภูมิควบคุมของเสีย p • แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ c, u • แผนภูมิ p ใช้ควบคุมสัดส่วนของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ซึ่งจะแจกแจงแบบทวินาม • แผนภูมิ c ใช้ควบคุมจำนวนรอยตำหนิในสินค้า • แผนภูมิ u ใช้ควบคุมจำนวนรอยตำหนิต่อหน่วยของสินค้า ซึ่งจะแจกแจงแบบปัวซอง

  20. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย • แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย p เมื่อ n = เป็นจำนวนตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง D = เป็นจำนวนของเสียที่พบในกลุ่มตัวอย่าง (np) p = เป็นสัดส่วนของเสีย

  21. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย • ในการตรวจสอบคุณภาพของหลอดไฟที่ผลิตได้ พบว่ามีหลอดไฟที่ใช้งานไม่ได้ 3 หลอด จากตัวอย่าง 450 หลอด คิดเป็นสัดส่วนของเสีย

  22. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย • แผนภูมิควบคุมสัดส่วนความบกพร่อง (The Proportion Defective: P-Chart) • จะมีความคล้ายคลึงกับแผนภูมิควบคุมค่าพิสัย เพื่อพิจารณาว่าสัดส่วนของสินค้าที่บกพร่องจะอยู่ในช่วงที่ยอมรับได้หรือไม่นั่นเอง

  23. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย • ขั้นตอนการสร้าง p-Chart • เลือกตัวอย่างสินค้า k ชุด ชุดละ n ตัวเท่า ๆ กันและตรวจสอบสินค้าที่บกพร่องจากตัวอย่างแต่ละชุด • หาสัดส่วนสินค้าที่บกพร่อง (p) ของตัวอย่างแต่ละชุด • หาแกนกลางซึ่งก็คือค่าเฉลี่ยของสัดส่วน โดยหาจาก • คำนวณหาขีดจำกัดการควบคุม(Control Limits) • เขียนแผนภูมิควบคุม

  24. ผลการตรวจสอบไอซีของคนงานกะ 1 แผนกผลิตระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม

  25. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย UCLp = 0.041 CLp = 0.018 LCLp = -0.005 = 0

  26. การสร้างแผนภูมิ p เมื่อจำนวนตัวอย่างไม่คงที่

  27. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย • แผนภูมิควบคุม (pd-chart) คือแผนภูมิ p แต่แสดงในรูปของร้อยละ เพื่อความสะดวกในการอ่านค่าและตีความ

  28. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย • แผนภูมิควบคุม (np-chart) เป็นแผนภูมิที่พัฒนามาจากแผนภูมิ p แต่แผนภูมิ p ใช้เพื่อควบคุมสัดส่วนของเสีย แผนภูมิ np ใช้เพื่อควบคุมจำนวนของเสีย ซึ่งจำนวนของเสียสามารถนับได้

  29. แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิแผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ • แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ (c-chart) แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิจะใช้เพื่อการควบคุมจำนวนตำหนิ หรือสาเหตุที่ทำให้สินค้าเป็นของเสีย มีการแจกแจงแบบปัวซอง ซึ่งมีเงื่อนไข 2 ประการ • จำนวนเฉลี่ยของรอยตำหนิจะต้องน้อยกว่าจำนวนรอยตำหนิที่มีโอกาสเกิดขึ้นมาก หมายถึง โอกาสเกิดรอยตำหนิมีสูง แต่โอกาสเกิดเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งจะต้องน้อยมาก • การเกิดรอยตำหนิที่ต่าง ๆ เป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกัน

  30. แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ c แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ (c-chart)

  31. แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ c จำนวนรอยตำหนิที่พบบนแผ่นกระเบื้องเคลือบ

  32. แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิแผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ • แผนภูมิควบคุม u แผนภูมิ c จะใช้กับกรณีที่กลุ่มตัวอย่างมีขนาด 1 หน่วย เช่น กระเบื้อง 1 ตารางเมตร กระดาษ 1 รีม เครื่องบิน 1 ลำ แต่ถ้าจำนวนแต่ละกลุ่มตัวอย่างไม่เท่ากันแผนภูมิควบคุมที่ใช้จะเป็นแผนภูมิ u จำนวนรอยตำหนิต่อหน่วย

  33. แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ u แผนภูมิควบคุม u

  34. แสดงรอยตำหนิที่พบในการตรวจสอบเครื่องรับวิทยุจากการผลิต โดยสุ่มตัวอย่างวันละ 45 เครื่อง

  35. Quality Control Quality control Prevention Appraisal Statistical Process Control (SPC) Inspection Control charts Run tests • Variables charts • (x-chart, R-chart) • Attributes charts • (p-chart, c-chart) • Median test • - Up/down test

  36. Run-test: Median test • ดูว่าจุดข้อมูลอยู่เหนือ (Above, A) หรือ ใต้ (Below, B) เส้น median (สามารถใช้ mean แทนได้) • นับจำนวนชุดข้อมูล A และ B ที่ได้ • จำนวนชุดข้อมูลมีค่าเป็น • UCL = 5.307 • CL = 4.991 • LCL =4.675 ค่าเฉลี่ย A B A B A A B B A B A A B A A B B A A A A B B B A

  37. Run-test: Up/down test • UCL = 5.307 • CL = 4.991 • LCL =4.675 ค่าเฉลี่ย U D D U U U U U U U U U U U D U U D D D D D D D • ดูว่าค่าของข้อมูลเพิ่มขึ้น (Up, U) หรือ ใต้ (Down, D) • นับจำนวนชุดข้อมูล U และ D ที่ได้ • จำนวนชุดข้อมูลมีค่าเป็น

  38. โดยทั่วไปการตัดสินใจรับวัตถุดิบจากผู้ขายเพื่อนำมาใช้ในการผลิตอาจทำได้ 3 วิธี คือ 1 รับโดยไม่ต้องตรวจสอบเลย 2 ตรวจพินิจทุกชิ้นหรือตรวจทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นต์ แล้วคัดของเสียคืนผู้ขาย หรือซ่อมแซมก่อนนำไปใช้ 3 ชักตัวอย่าง โดยอาศัยแผนชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ แล้วตัดสินใจรับเฉพาะรุ่นที่ผ่านเกณฑ์

  39. การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับจะใช้กับกรณีดังต่อไปนี้การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับจะใช้กับกรณีดังต่อไปนี้ 1 เมื่อการทดสอบเป็นแบบทำลาย ซึ่งจะทำการพิจารณาทั้งหมดแล้วทำลายทั้งหมด 2 เมื่อการตรวจสอบมีต้นทุนสูงเมื่อเปรียบเทียบกับความเสียหาย 3 เมื่อมีของที่เหมือนกันจำนวนมากที่ต้องทำการตรวจสอบ 4 เมื่อไม่รู้ระดับคุณภาพสินค้าของผู้ขาย 5 เมื่อไม่ได้ใช้วิธีการตรวจสอบแบบอัตโนมัติ 6 เมื่อการตรวจ 100% ทำให้เสียเวลารอคอย 7 เมื่อผู้ขายไม่เคยส่งสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน

  40. Q : การตรวจสอบจำนวนรอยตำหนิบนผ้าที่ทอได้โดยตรวจสอบผ้าทั้งม้วน แล้วคำนวณเป็นต่อทุก ๆ 50 ตารางเมตร ผลการตรวจสอบผ้า 10 ม้วน ดังตาราง • การสร้างแผนภูมิ u เมื่อจำนวนตำหนิไม่คงที่

  41. บริษัทผลิตตุ๊กตาเซรามิกแห่งหนึ่ง ต้องการตรวจสอบคุณภาพสินค้าที่ได้จากเตาเผา โดยสุ่มตัวอย่างตุ๊กตาที่ผ่านการเผาจากเตาเผา 26 เตา เตาละ 40 ตัว จากนั้นจึงตรวจสอบลวดลายสีสัน และเนื้อเซรามิกที่ได้เพื่อหาของเสีย ให้สร้างแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย และวิเคราะห์ผล

  42. ผู้ตรวจสอบบัญชีของบริษัทแห่งหนึ่งได้ทำการตรวจสอบบัญชี โดยเปรียบเทียบใบเสร็จรับเงินกับการลงรายการในคอมพิวเตอร์ โดยสุ่ม Computer Printout ขึ้นมา 10 หน้า ทุก ๆ สัปดาห์ เป็นเวลา 25 สัปดาห์ ให้สร้างแผนภูมิควบคุมจำนวนข้อบกพร่อง C-Chart และวิเคราะห์

More Related