280 likes | 446 Views
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2557. ณ โรงแรม บัดดี้ โอเรียน ทอล ริ เวอร์ ไซด์ ปากเกร็ด นนทบุรี วันที่ 2 5 -26 กุมภาพันธ์ 2557. โดย ... กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย. หัวข้อนำเสนอ. แนวทางการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย. 25 ก.พ.57 10.30 น.
E N D
แนวทางการพัฒนาระบบราชการแนวทางการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ณ โรงแรม บัดดี้ โอเรียนทอล ริเวอร์ไซด์ ปากเกร็ด นนทบุรี วันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2557 โดย ... กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
หัวข้อนำเสนอ • แนวทางการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 25 ก.พ.57 10.30 น. • ความเป็นมาของการพัฒนาระบบราชการ • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย • กลไกการดำเนินการของกรมอนามัย • คำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน 25 ก.พ.57 13.00 น. • รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผล • โดยเจ้าภาพตัวชี้วัด 2 - 9 • การรายงานและการประเมินผล • การกระจายค่าเป้าหมายตัวชี้วัดของกรมอนามัย ให้หน่วยงาน 26 ก.พ.57 09.00 น.
1 ความเป็นมาของ ... การพัฒนาระบบราชการ • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ • เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินจำเป็น • ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก • ได้รับการตอบสนองความต้องการ • มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย ตราขึ้นเป็น กฎหมาย หลักการ บริหาร พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (แนวทางการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจน) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ โดยจัดทำ “คำรับรองการปฏิบัติราชการ” สำนักงาน ก.พ.ร. 3
เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ นายกรัฐมนตรีและ ค.ร.ม. รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง • โดยสร้างระบบความรับผิดชอบต่อผลงานในแต่ละระดับไว้อย่างเป็นรูปธรรม ใน 4 มิติ ได้แก่ • ประสิทธิผล • คุณภาพการบริการ • ประสิทธิภาพ • การพัฒนาองค์กร อธิบดี หน่วยงานในสังกัด 4
2 สำนักงาน ก.พ.ร. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจ หลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ 7. การสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ (5) (15) (5) (5) 5
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมที่สอดคล้อง กับนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล และ ภารกิจหลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) กรมอนามัยคัดเลือก 4 ตัวชี้วัด บริการ ANC คุณภาพ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการ อย่างถูกสุขลักษณะ ส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน HAS • กำหนดจากยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 11 ประเด็น • จะวัดเฉพาะกระทรวงที่เป็นเจ้าภาพ • โดยส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • ต้องร่วมดำเนินการ 6 6
ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ขับเคลื่อนพัฒนาประเทศ และเป็นกรอบในการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2557 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 4 ด้าน • ยุทธศาสตร์ย่อย 29 ประเด็นเลือกเป็นตัวชี้วัด ปี 2557 • จำนวน 11 ประเด็น การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าทียมกันทางสังคม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 7
ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) สศช. สำนักงาน ก.พ.ร. และ สำนักงบประมาณ ร่วมกันกำหนด Joint KPIs ปี 2557 กระทรวงสาธารณสุข มีความเกี่ยวข้อง ต้อง ร่วมดำเนินการ 3 ประเด็น หากกรมอนามัยเกี่ยวข้อง ต้องกำหนดเป็นตัวชี้วัด ของกรมด้วย 8
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข ต่อ Joint KPI ร่วมดำเนินการ จัดตั้งและประชาสัมพันธ์ศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC ปัญหาสำคัญ : การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม :OSCC) 9. การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (Life Cycle) บูรณาการแผนงาน โครงการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพหลักเด็กแรกเกิด-ปฐมวัย 10. สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว • ก.สธ.เกี่ยวข้องในประเด็นความเชื่อมั่น :-พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ • บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพสำหรับชาวต่างประเทศ ให้มีองค์กรควบคุมดูแลกำหนดมาตรฐานรับรองคุณภาพบริการ • ให้ผู้ประกอบการภัตตาคารและร้านอาหารควบคุมดูแลมาตรฐานและสุขอนามัยของตนเองให้มากขึ้นเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้บริโภค • ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การจัดงานเทศกาลอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 9
การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัดที่ 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) • วิธีดำเนินการ : ทดลองในหน่วยงานนำร่อง ซึ่งสำนักงาน ก.พ.ร. • เลือกงานบริการ 44 งานบริการ • กลุ่มเป้าหมาย : 17 กระทรวง 40 กรม • การขยายผล :นำไปใช้ในการติดตามประเมินผลการให้บริการ • ของทุกส่วนราชการ (กรมบริการ) ในปี 2558 กระทรวงสาธารณสุข มีเป้าหมาย 4 เรื่อง ได้แก่ สำนักงานปลัด ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลในสังกัด กรมการแพทย์ ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของหน่วยงานบริการในสังกัด กรมสุขภาพจิต ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของหน่วยงานบริการในสังกัด กรมควบคุมโรค งานออกใบรับรองแหล่งผลิตสินค้า 10
สัญญาระดับคุณภาพการให้บริการสัญญาระดับคุณภาพการให้บริการ (SLA: Service Level Agreement) คือ พันธะสัญญาในการให้บริการของหน่วยบริการในแต่ละองค์กร ระหว่างผู้รับบริการ กับผู้ให้บริการ โดยมีการกำหนดเป้าหมาย ระดับประสิทธิภาพการส่งมอบงานบริการ การรับประกันไว้อย่างชัดเจน และรับรู้โดยทั่วกัน ตัวอย่าง มาตรฐานในการให้บริการทางศุลกากร 11
การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัดที่4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงาน ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง 12
ตัวชี้วัด 6 : การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (น้ำหนัก ร้อยละ 15) ประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินผลจากความครบถ้วน ทันสมัย และส่งรายงานตามกำหนด ระดับความสำเร็จของการจัดทำ รายงานลักษณะสำคัญขององค์การ • ระดับความสำเร็จของ • การพัฒนาองค์การ • ทุนมนุษย์ สารสนเทศ • และวัฒนธรรมองค์การ • Survey Online • เลือกประเด็นที่มีค่า GAP สูงที่สุดแต่ละด้าน มาทำแผน พัฒนาสมรรถนะองค์การ • ประเมินผลจากการส่งแผนตามกำหนด และค่า GAP ครั้งที่ 1เปรียบเทียบกับครั้งที่ 2 13
3 กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัย คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย คณะทำงานพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด คณะทำงาน หมวด 2 คณะทำงาน หมวด 3 หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด คณะทำงาน หมวด 4 คณะทำงาน หมวด 5 หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด คณะทำงาน หมวด 6 คณะทำงานประสานและสนับสนุน PMQA เครือข่าย กพร. หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย 14
บทบาทของผู้เกี่ยวข้องบทบาทของผู้เกี่ยวข้อง • กำหนดยุทธศาสตร์ และกลไก • สื่อสารยุทธศาสตร์ ผลักดันให้เกิดการปฏิบัติ • เสนอแนะและให้คำปรึกษา • สนับสนุน กำกับดูแล แก้ไขปัญหาอุปสรรค • สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพบุคลากร คณะกรรมการ กพร. กรมอนามัย • ศึกษาเกณฑ์ที่จะประเมิน • วางแผน กำหนดแนวทางดำเนินงาน • กำหนดเกณฑ์การประเมินระดับหน่วยงาน • ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ร่วมกับหน่วยงาน • ติดตามประเมินผล รวบรวมผลและ • รายงานต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เจ้าภาพตัวชี้วัด และ คณะทำงาน PMQA • ถ่ายทอด ผลักดันการพัฒนาระบบราชการในหน่วยงาน • ให้คำปรึกษาในหน่วยงาน • ติดตามประเมินผล และรายงานต่อกรมอนามัย • ประสานและดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการ/ หน่วยงานส่วนกลาง เครือข่าย กพร. กรมอนามัย 15
2 สำนักงาน ก.พ.ร. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจ หลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ 7. การสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ (5) (15) (5) (5) 16
แนวทางดำเนินงานของกรมอนามัยแนวทางดำเนินงานของกรมอนามัย หน่วยงานที่มีบทบาทเกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ กรมอนามัยไม่ถูกเลือกงานบริการ ไม่ต้องดำเนินการในปี 2557 ทุกหน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก • บุคลากรร่วมตอบแบบสำรวจออนไลน์ • กอง จ.และ กพร.จัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น • ทำแผนพัฒนาองค์การ • คณะทำงาน PMQA ดำเนินการปรับปรุงในภาพรวมของกรม • ประเมินผลจากการสำรวจออนไลน์ครั้งที่ 2 กำหนดเป็นตัวชี้วัด ระดับหน่วยงาน เพื่อร่วมดำเนินการ กพร.ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ต้องให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัด 17
4. คำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย 18
4 ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต 19
ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน อำนวยการ วิชาการ วิชาการ ศูนย์อนามัย 20
การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 1 หน่วยงานสายอำนวยการ รายงานผลการตรวจสอบ ที่แสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ทุกหน่วยงานปฏิบัติงานสารบรรณถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกฯ ได้แก่ การรับ-ส่ง การจัดเก็บ การทำลายหนังสือราชการ ดำเนินการเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติราชการและเลื่อนเงินเดือนที่มีประสิทธิภาพ • รายงานการเงิน ที่ผู้บริหารใช้ประโยชน์ เพื่อวางแผน และบริหารจัดการ • ระบบสารสนเทศของกรมที่มีประสิทธิภาพ • สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการของหน่วยงาน 21
ตัวชี้วัดที่ 1: การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย หน่วยงานสายส่งเสริมสุขภาพ 22
ตัวชี้วัดที่ 1: การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย หน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม 23
ตัวชี้วัดที่ 1: การสนับสนุนเขตสุขภาพของศูนย์อนามัยที่ 1-12 กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ 24
กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ 25
ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงาน • การเสนอตัวชี้วัด มี 2 ลักษณะ คือ • กระบวนการปฏิบัติงาน • ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ที่ได้จากหลักฐานอ้างอิง Best practice model กลไก ระบบข้อมูล กระบวนการทำงาน • กลไก ระบบงาน ระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนเขตสุขภาพ • แผนสนับสนุนเขตสุขภาพ • แผนยุทธศาสตร์สุขภาพเขตสุขภาพ • รายงานผลการดำเนินงาน/สนับสนุนเขตสุขภาพ • รายงานการติดตามประเมินผล • โครงการที่ศูนย์ผลักดันให้เกิดในพื้นที่ • รายงานสถานการณ์สุขภาพ • องค์ความรู้ นวัตกรรม สรุปบทเรียน • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เชิงวิชาการ ต่อการแก้ไขปัญหาระดับเขต • ผลการสำรวจความพึงพอใจ สถานการณ์สุขภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม บทเรียนตามพื้นที่ ข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย/วิชาการ 26
การดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองฯการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย เจ้าภาพชี้แจง รายละเอียดตัวชี้วัด และเกณฑ์ การประเมินผล การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต 27
Q&A ลาวัณย์ ขำเลขะสิงห์ โทรศัพท์ : 089 810 2574 Line ID code:lawan2574 28