1 / 72

& Performance management

& Performance management. Results Based Management. คือ วิธี การบริหารจัดการที่ มุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ หรือ ผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมี การวัดผลการปฏิบัติงาน ด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้. ผลผลิต (OUTPUTS). ผลสัมฤทธิ์ (RESULTS). ผลลัพธ์ (OUTCOMES). =. +.

kendis
Download Presentation

& Performance management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. &Performance management Results Based Management

  2. คือ วิธีการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลผลิต (OUTPUTS) ผลสัมฤทธิ์ (RESULTS) ผลลัพธ์ (OUTCOMES) = + การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ RESULTS BASED MANAGEMENT (RBM ) 6

  3. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ในองค์การภาครัฐการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ในองค์การภาครัฐ ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความต้องการจำเป็น วัตถุประสงค์ ปัจจัยนำเข้า -กำลังคน -อุปกรณ์/เครื่องใช้ -งบประมาณ ผลลัพธ์ - ผลกระทบ/ ประโยชน์ (เช่น ประโยชน์ที่เกิดจากมี/ใช้ใบอนุญาต กฎเกณฑ์ ระเบียบ รายงานหรือข้อเสนอแนะ ฯลฯ) - การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์ สังคม สิ่งแวดล้อมและชาติ ในทางบวก กระบวนการ -กระบวนการบริหาร และดำเนินงาน - ระบบข้อมูล - ระบบการให้บริการ - ระบบการตัดสินใจ ผลผลิต ผลงานที่ตั้งเป้าไว้ (เช่น ใบอนุญาต กฎเกณฑ์ ระเบียบ รายงานผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ฯลฯ) ข้อมูลป้อนกลับ ผลสัมฤทธิ์ คือ ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้ผลผลิตตามเป้าหมายและเกิดผลลัพธ์ตรงตามวัตถุประสงค์ 7

  4. 1. ที่มาของการวางแผนและประเมินผลการปฏิบัติราชการ มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 บัญญัติให้การบริหารราชการและการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิง ภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจำเป็น ประชาชนได้รับการ อำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ รวมทั้งมีการประเมินผล การปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

  5. 1. ที่มาของการวางแผนและประเมินผลการปฏิบัติราชการ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) 4 เป้าประสงค์ 7 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การปรับปรุงระบบการเงินและการงบประมาณ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทน ใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และ ค่านิยม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วม

  6. การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) • การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) • การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ • การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) • การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน • ( People’s Audit ) • Lay Board • การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น • การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการดำเนินงาน • (Performance Scorecard) • มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน • มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค • การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ • (e- Service) • call center 1111 • ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำการเปลี่ยนแปลง • การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : • I AM READY • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ • (GFMIS) • นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ • นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ • การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน

  7. หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 1. ที่มาของการวางแผนและประเมินผลการปฏิบัติราชการ เป้าหมายการปฏิบัติราชการเกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ชัดเจน แนวทางการบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์หรือผลสัมฤทธิ์เป็นตัวตั้ง วิธีการ1. จัดทำแผนปฏิบัติราชการล่วงหน้าที่กำหนดเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด ความสำเร็จของภารกิจที่ชัดเจนโดยจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2. แผนปฏิบัติราชการจะต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ นโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนการบริหารราชการ แผ่นดิน 3. แผนนิติบัญญัติ 4. จัดทำความตกลงเพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ 5. การหารือระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (บูรณาการ) 6. องค์กรแห่งการเรียนรู้ 7. จัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับแผน 8. จัดให้มีการติดตามผล ประเมินผล และรายงานผล

  8. หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1. ที่มาของการวางแผนและประเมินผลการปฏิบัติราชการ เป้าหมายให้ผลตอบแทนส่วนราชการและข้าราชการตามผลการ ปฏิบัติงาน แนวทางจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานในทุกระดับตามผลงาน วิธีการ1. การจัดทำความตกลง 2. การประเมินผลโดยผู้ประเมินอิสระ 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัวและหน่วยงาน 4. ให้รางวัลตอบแทนส่วนราชการและข้าราชการ

  9. Planning Measurement เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting

  10. หัวใจสำคัญของทุกกระบวนการในการบริหารหัวใจสำคัญของทุกกระบวนการในการบริหาร A P C D PLAN วัตถุประสงค์/เป้าหมายชัดเจน(ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร) DOปฏิบัติมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้ CHECKวัดว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนหรือไม่(KPI ชัดเจน) ACTปรับปรุงแก้ไขให้ได้ตามที่วางแผนไว้

  11. Strategic Management Process Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change

  12. เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน • เพื่อเป็นการถ่ายทอดยุทธศาสตร์มาเป็นแผนการปฏิบัติงานราชการประจำปี คือ โครงการ ที่แสดงรายละเอียดผลผลิต ผลลัพธ์ ทรัพยากรที่จะใช้ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนการใช้เงิน การบริหารเงินสดผ่านระบบ GFMIS • ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์ gapsในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนงาน เทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถ กระบวนทัศน์ ค่านิยมของบุคลากร • เพื่อเป็นการทบทวน ติดตาม ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยให้หน่วยงานจัดทำ SARและให้มีการเข้าไปตรวจ สอบทานผล รวมทั้งให้ผู้ประเมินอิสระเป็นผู้ประเมินผลด้วย • ให้มีการให้รางวัลตอบแทนผลการปฏิบัติงานที่บรรลุตามเป้าหมาย ปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์การ ออกแบบองค์การ และกระบวนงาน บริหารทุนด้าน ทรัพยากรบุคคล ประเมินผล การปฏิบัติงาน ตลาดและ ลูกค้าสัมพันธ์ บริหาร จัดการข้อมูล บริหารจัดการ ด้านการเงิน จัดการ ยุทธศาสตร์ สร้างเครือข่าย HPO การควบคุม กำกับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Control) การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) การนำยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) Strategy Map วิธีการ • Networking Individual SC ศูนย์บริการร่วม Value Chain GSMS/GFMIS Benchmarking การจัดทำบัญชีต้นทุน PMQA ประเมินความคุ้มค่า Structure Design SWOTAnalysis Capacity Building Risk Management Blueprint for Change Change Management Process Improvement Knowledge Management Technology Development สำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ eAuction/eProcurement • Participation Balanced Scorecard

  13. นิยามศัพท์ Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์

  14. a. การจัดทำ STRATEGY MAP (แผนผังเชิงยุทธศาสตร์) • เป็นการเชื่อมโยงที่แสดงถึงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผลของตัวแปร หรือปัจจัยภายใต้มุมมองต่างๆ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ โดยตัวแปรหรือปัจจัยเหล่านี้จะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงสู่ความสำเร็จของวิสัยทัศน์และกลยุทธ์หลักขององค์กร • เป็นรูปที่อธิบายถึงสมมุติฐานทางยุทธศาสตร์ขององค์กร (Strategic Hypothesis) • เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความจำเป็นในการสื่อสารและถ่ายทอด ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  15. b. การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ความคาดหวังจาก Stakeholders ที่สำคัญ นโยบายหรือความจำเป็นเร่งด่วนจากภายนอก วิสัยทัศน์ของหน่วยงาน Strategic Issues หรือประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญสำหรับหน่วยงาน ศักยภาพและความเป็นไปได้ของหน่วยงาน

  16. c. การกำหนดเป้าประสงค์ • จะต้องมีความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ที่กำหนดไว้ • ในการที่จะไปให้ถึงประเด็นยุทธศาสตร์ที่ต้องการ สามารถที่จะแตกประเด็นยุทธศาสตร์ ออกเป็นเป้าประสงค์ที่จะบรรลุ ได้อย่างไรบ้าง • เป้าประสงค์ ขอให้เขียนในลักษณะสิ่งที่ต้องการที่จะบรรลุ • ในการกำหนดเป้าประสงค์นั้น ขอให้พยายามกำหนดเป้าประสงค์ โดยการมองกรอบการประเมินผลทั้งสี่มิติ • มิติด้านประสิทธิผลตามแผนยุทธศาสตร์ (Run the Business) • มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (Serve the Customer) • มิติด้านประสิทธิภาพการจัดการ (Manage Resources) • มิติด้านพัฒนาองค์กร (Capacity Building)

  17. The Complete Balanced Scorecard Strategy Map d. แนวคิดการจัดทำ STRATEGY MAP (แผนผังเชิงยุทธศาสตร์) Improve Shareholder Value Financial Perspective: the drivers of shareholder value Shareholder Value ROCE Productivity Strategy Revenue Growth Strategy Create Value from New Products & Services Improve Cost Structure Increase Asset Utilization Enhance Customer Value • Customer Profitability • Cost per Unit • Asset Turnover • New Revenue Sources • Market and Account Share • Customer Satisfaction • Customer Acquisition • Customer Retention Customer Perspective: the differentiating value proposition Product Leader Customer Solutions Customer Value Proposition Low Total Cost Product/Service Attributes Relationship Image Price Quality Time Function Service Relations Brand Internal Perspective: how value is created and sustained (Processes that Produce and Deliver Products & Services) (Processes that Enhance Customer Value) Customer Management Theme Operations Theme Innovation Theme Regulatory and Society Theme (Processes that Create New Products and Services) (Processes that Improve the Environment and Communities) Learning & Growth Perspective: role for intangible assets – people, systems, climate and culture Human, Information, and Organizational Capital Strategic Competencies Strategic Technologies Climate for Action

  18. ตัวอย่างภาพรวมแผนผังเชิงยุทธศาสตร์ : ยุทธศาสตร์ท่องเที่ยว 1 มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ สามารถสร้างรายได้ให้กับกลุ่มจังหวัด 2 มิติคุณภาพการให้บริการ บริการการท่องเที่ยวเฉพาะทาง บริการด้านการท่องเที่ยวที่ หลากหลาย ทางธรรมชาติ นักท่องเที่ยว มีความพึงพอใจ สะดวก ปลอดภัย บริการด้านการท่องเที่ยวที่ หลากหลาย ทางวัฒนธรรม MARKETING PLACE MOBILIZATION MANAGEMENT & INVESTMENT การสร้างการเรียนรู้และประสบการณ์ร่วม การพัฒนาสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว การพัฒนา การสนับสนุน การพัฒนาและสร้างมาตรฐานกิจกรรม การท่องเที่ยว การดำเนินการตลาดและประชาสัมพันธ์ เชิงรุก 3 มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ การพัฒนา ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทาง การท่องเที่ยว การพัฒนาผู้นำ และบุคลากร กลุ่มจังหวัดด้าน การท่องเที่ยว การสืบค้น สืบสาน ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรมท้องถิ่น มิติการพัฒนาองค์กร 4

  19. วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ คุณค่าองค์กร แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  20. มิติด้านประสิทธิผล • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ตัวอย่าง • ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจน • ร้อยละการเพิ่มของรายได้จากการท่องเที่ยว • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน • การเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูป มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านคุณภาพ • ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน • ระดับความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติด้านการพัฒนาองค์กร • ระดับความสำเร็จของการบริหารความรู้ • ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ • ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร

  21. Total Quality Management (TQM) &Balanced Scorecard (BSC) Leadership Information & Analysis Capacity-building (Learning & Growth Perspective) Effectiveness (Financial Perspective) Strategy Deployment HR Focus Business Results Efficiency (Internal Work Process Perspective) Process Management Customer & Market Focus Quality (Customer Perspective) Enablers Achievement

  22. การวางแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ4ปี และการทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4. การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การเตรียมการ(Project Setup) การจัดทำวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์(Vision, Goals and Strategic Issues) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy) การกำหนดแผนปฏิบัติการ(Action Plan) การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การวิเคราะห์สถานการณ์และศักยภาพของส่วนราชการ

  23. ส่วนราชการที่เข้าร่วมพัฒนาการปฏิบัติราชการส่วนราชการที่เข้าร่วมพัฒนาการปฏิบัติราชการ • กลุ่มที่ 3 กลุ่มนำร่อง (147) • กระทรวงนำร่อง 10 กระทรวง • (72 ส่วนราชการ) • จังหวัด 75 จังหวัด • ส่วนราชการ • กระทรวง/กรม 142 แห่ง • สถาบันการศึกษา 62 แห่ง • มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏ • จังหวัด • จังหวัด 75 จังหวัด • ส่วนราชการ • กระทรวง/กรม 142 แห่ง • สถาบันการศึกษา 73 แห่ง • มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี • ราชมงคล • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี • ปทุมวัน • สถาบันการพลศึกษา • จังหวัด • จังหวัด 75 จังหวัด • กลุ่มที่ 2 กลุ่มท้าทาย (23) • ส่วนราชการ 14 แห่ง • มหาวิทยาลัย 9 แห่ง • กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคบังคับ (68) • ส่วนราชการ 57 แห่ง • มหาวิทยาลัย 11 แห่ง รวม 279 แห่ง รวม 290 แห่ง รวม 238 แห่ง 2547 2548 2549

  24. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปีงบประมาณ 2549 4. การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการตามทีได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดรอบระยะเวลา การให้บริการ การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงขององค์กรและการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ

  25. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลา การให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

  26. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)

  27. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)

  28. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)

  29. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)

  30. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)

  31. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด)

  32. การกำหนดค่าเป้าหมาย การกำหนดเป้าหมายตามขั้นตอนที่สำเร็จ (Milestones) ระดับที่ 5 นำไปใช้ประโยชน์ ในการบริหารงาน ตัวชี้วัดระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 4 มีการเชื่อมโยง ระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 3 มีระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 2 ดำเนินการจัดทำ แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ระดับที่ 1 ตั้งคณะทำงาน

  33. การกำหนดค่าเป้าหมาย การกำหนดเป้าหมายแบบผสมระหว่างขั้นตอนที่สำเร็จ(Milestones) และการประเมินผลลัพธ์ ระดับที่ 5 ประหยัดน้ำมันได้มากกว่า ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 15 ระดับที่ 4 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ของการดำเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ำมันได้มากกว่าร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 10 ระดับที่ 3 ประหยัดน้ำมัน ได้ตั้งแต่ร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 5 ระดับที่ 2 ทบทวนมาตรการ การประหยัดพลังงาน และดำเนินงานแล้ว เสร็จครบถ้วน ระดับที่ 1 มีฐานข้อมูล พลังงาน

  34. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (จังหวัด) ต.ค. 48 มี.ค. 49 ก.พ. 49 พ.ย. 48 ม.ค. 49 ธ.ค. 48 1 1 1 1 1 1 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2 2 2 4 4 4 4 4 4 กรณีจังหวัดขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด ขอให้จัดทำเป็นหนังสือการอุทธรณ์ส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายใน 31 มี.ค. 49 และคณะกรรมการ อ.ก.พ.ร. จะพิจารณาเรื่องอุทธรณ์ ณ สิ้นปีงบประมาณ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ 7 ชี้แจงกรอบการประเมินผลตามคำรับรองฯ 16-18 เจรจาตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนตามคำรับรองฯ 24-26 ผู้ว่าราชการจังหวัดนำเสนอคำรับรองการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดต่อรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายให้กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค 31 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) และประเด็นการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. 28 สำนักงาน ก.พ.ร. ส่งผลการวิเคราะห์รายละเอียดตัวชี้วัดให้จังหวัดทราบ 31 หมดเขตรับเรื่องการอุทธรณ์ของจังหวัด

  35. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (จังหวัด) พ.ย. 49 ต.ค. 49 ก.ค. 49 พ.ค. 49 เม.ย. 49 ก.ย. 49 ส.ค. 49 มิ.ย. 49 28 1 1 1 1 1 1 1 1 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2 2 2 2 2 4 4 4 4 4 4 4 4 เม.ย. – พ.ค. 49 การติดตามความก้าวหน้า และการประเมินผลฯ กลุ่มจังหวัด/จังหวัดจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report)รอบ 6 เดือน(1 ต.ค. 48-31 มี.ค. 49) และกรอก e-SAR Card รอบ 6 เดือน เข้าระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. (www.opdc.go.th) สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาประเมินผลติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติราชการฯ ในพื้นที่จังหวัด ครั้งที่ 1 (Site visit I : Pre-Evaluation) 15 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดกรอก e-SAR Card รอบ 9 เดือน (1 ต.ค. 48-30 มิ.ย. 49) เข้าระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. (www.opdc.go.th) ส.ค. – ก.ย. 49 ที่ปรึกษาสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 31 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report)รอบ 12 เดือน (1 ต.ค. 48-30 ก.ย. 49) และกรอก e-SAR Card รอบ 12 เดือน เข้าระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. (www.opdc.go.th) สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาประเมินผลติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ ในพื้นที่จังหวัด ครั้งที่ 2 (Site visit II : Post-Evaluation) ต.ค. – พ.ย. 49

  36. การเตรียมการของจังหวัดเพื่อการติดตามงานและการประเมินผลการเตรียมการของจังหวัดเพื่อการติดตามงานและการประเมินผล ทำความเข้าใจกับคำนิยาม/กำหนดวิธีการจัดเก็บ/ผู้รับผิดชอบ แหล่งข้อมูล/ความถี่ในการจัดเก็บ กำหนดแบบฟอร์มในการรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูล ติดตามผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงานสิ้นปี

  37. ตัวอย่างตัวชี้วัดมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรหลักตัวอย่างตัวชี้วัดมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรหลัก สินค้าเกษตรหลักหมายถึงผลผลิตที่ได้จากพืชผลทางการเกษตรที่มีมูลค่าการส่งออกเฉลี่ยอยู่ใน4อันดับแรกของจังหวัดในช่วง3ปีที่ผ่านมา ทำความเข้าใจกับคำนิยาม กำหนดวิธีการจัดเก็บ ใช้แบบสอบถามส่งยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดผู้รับผิดชอบแหล่งข้อมูลความถี่ในการจัดเก็บแบบฟอร์ม นายก ข้าว นายข ถั่วเหลือง พาณิชย์จังหวัด รายเดือน แบบฟอร์ม นายค ทุเรียน นายง เงาะ

  38. KPI Template ชื่อตัวชี้วัด หน่วยวัด น้ำหนัก คำอธิบาย ระบุรายละเอียดของตัวชี้วัดตามหัวข้อในแบบฟอร์ม สูตรการคำนวณ แหล่งข้อมูล/วิธีการเก็บข้อมูล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) 2545 2546 ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด:เบอร์ติดต่อ: ผู้จัดเก็บข้อมูล:เบอร์ติดต่อ:

  39. ตัวอย่าง KPI Template เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 10 11.5 13 14.5 16 ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) 2545 2546 ร้อยละ8 ร้อยละ12 ชื่อตัวชี้วัด:ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร หน่วยวัด:ร้อยละ น้ำหนัก:ร้อยละ3 คำอธิบาย: ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรหมายถึงการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกไปต่างประเทศของสินค้าเกษตรสำคัญซึ่งได้แก่ข้าวในปีงบประมาณ2547โดยเปรียบเทียบกับมูลค่าการส่งออกข้าวรวมในปีงบประมาณ2546 สูตรการคำนวณ - มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรในปีงบประมาณ2546 มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรในปีงบประมาณ2547 X 100 มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรในปีงบประมาณ2546 แหล่งข้อมูล/วิธีการเก็บข้อมูล: - รวบรวมข้อมูลจากสำนักงาน........../ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูลเป็นรายเดือน เกณฑ์การให้คะแนน • รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด:นายประมงสุขสบายเบอร์ติดต่อ: 00-000-000 ผู้จัดเก็บข้อมูล:นายเกษตรใจรักเบอร์ติดต่อ:00-000-000

  40. การติดตามงานและรายงานผลการติดตามงานและรายงานผล

  41. แบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการแบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  42. ตารางสรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ

  43. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณแบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ

  44. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพแบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ

  45. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนดำเนินงานแบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนดำเนินงาน

  46. รายงานการประเมินผลตนเองSARของ........รายงานการประเมินผลตนเองSARของ........ ตัวอย่าง

  47. แผนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550

  48. www.opdc.go.th

  49. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ด้วยการบริหารโครงการ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

More Related