1 / 26

รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์ ม.1

รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์ ม.1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1. เวลาและการแบ่งยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์. เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์. เวลาและช่วงเวลา การนับและการเทียบศักราช การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์. เวลาและช่วงเวลา.

kelton
Download Presentation

รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์ ม.1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์ ม.1

  2. หน่วยการเรียนรู้ที่1 เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

  3. เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ • เวลาและช่วงเวลา • การนับและการเทียบศักราช • การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

  4. เวลาและช่วงเวลา

  5. เวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์เวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ เวลาในประวัติศาสตร์ นิยมบอกเป็นปี ถ้าต้องการให้รู้ชัดเจนมากขึ้น เพราะมีความสำคัญมาก จะบอกเป็น วัน เดือน ปี ช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ บอกให้รู้เวลาที่ชัดเจนเกี่ยวกับบุคคลหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

  6. ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลาความสำคัญของเวลาและช่วงเวลา • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นและสิ้นสุดเวลาใด • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นมานานเท่าใด • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง เมื่อเปรียบเทียบกับเหตุการณ์อื่นๆ • บอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องของเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ • ทำให้เข้าใจและวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ ในประวัติศาสตร์ได้ดีขึ้น

  7. ตัวอย่างเวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ตัวอย่างเวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1822-1841 ซึ่งเป็นเวลาใกล้เคียงกุบไลข่าน (ภาพเล็ก) พ.ศ. 1803-1837 ข่านของมองโกลที่มีอำนาจปกครองจีนในสมัยนั้น

  8. การนับและการเทียบศักราชการนับและการเทียบศักราช

  9. การนับศักราชแบบสากล คริสต์ศักราช (ค.ศ.) คริสต์ศักราชที่ 1 เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ตรงกับ พ.ศ. 544 ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1 ยึดปีที่ท่านนบีมุฮัมมัด อพยพจากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ ตรงกับ พ.ศ. 1165

  10. การนับศักราชแบบไทย พุทธศักราช (พ.ศ.) ไทยเริ่มนับพุทธศักราชที่ 1 เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี มหาศักราช (ม.ศ.) เริ่มภายหลังพุทธศักราช 621 ปี พบมากในจารึกสุโขทัย จุลศักราช (จ.ศ.) เริ่มภายหลังพุทธศักราช 1181 ปี พบมากในศิลาจารึกและพงศาวดารของล้านนา สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) เริ่มนับปีที่รัชกาลที่ 1 ทรง สถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี

  11. หลักเกณฑ์การเทียบศักราชหลักเกณฑ์การเทียบศักราช

  12. ตัวอย่างศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตัวอย่างศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ • “1205 ศก ปีมะแม พ่อขุนรามคำแหง หาใคร่ใจในใจ แล่ใส่ลายสือไทยนี้...” • ปี 1205 เป็นการนับแบบมหาศักราช เมื่อเทียบเป็น พ.ศ. ให้บวกด้วย 621 = พ.ศ. 1826 เป็นปีที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์อักษรไทย • ที่มา : ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ด้านที่ 4

  13. การแบ่งช่วงเวลา ตามแบบสากล

  14. สมัยก่อนประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์

  15. สมัยโบราณ สมัยประวัติศาสตร์ • สมัยประวัติศาสตร์ • ร่วมสมัย • สมัยกลาง • สมัยใหม่

  16. การแบ่งช่วงเวลา ตามแบบไทย

  17. การแบ่งตามยุคสมัย

  18. การแบ่งตามอาณาจักร

  19. การแบ่งตามราชธานี

  20. การแบ่งตามรัชกาล • นอกจากนี้ในสมัยรัตนโกสินทร์ ได้นำเอาลำดับของรัชกาลมาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งด้วย

  21. การแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง

  22. การแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

  23. การแบ่งตามรัฐบาลบริหารประเทศการแบ่งตามรัฐบาลบริหารประเทศ

  24. ตัวอย่างเวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย “เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู...” ข้อความข้างต้นกล่าวถึง ช่วงเวลา หรือสมัย คำว่า “เมื่อชั่วพ่อกู” คือ เมื่อครั้งหรือสมัยพระราชบิดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช (เมื่อชั่ว=เมื่อครั้ง, เมื่อรัชสมัย) คือ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงปรนนิบัติต่อพระราชบิดา ได้เนื้อ (สัตว์บก) ได้ปลา (สัตว์น้ำ) ได้ผลไม้เปรี้ยวหวานที่อร่อย ก็เอามาถวาย

  25. ความสัมพันธ์ของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคตความสัมพันธ์ของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต อดีตกำหนดปัจจุบัน • ประวัติศาสตร์มีความต่อเนื่อง ความเจริญหรือความเสื่อมจากอดีตย่อมมีผลต่อเนื่องถึงปัจจุบัน อดีตให้บทเรียนกับปัจจุบัน • อดีตทำให้เกิดบทเรียน เป็นตัวอย่างให้กับคนรุ่นปัจจุบันทั้งในเรื่องดี และไม่ดี ปัจจุบันส่องทางแก่อนาคต • สภาพปัจจุบันจะบอกให้เรารู้ได้ว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร

More Related