1 / 30

Cholera: Update

Cholera: Update. แพทย์หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค waraluk@health.moph.go.th. ประเด็น. ความสำคัญของอหิวาตกโรค ในทางสาธารณสุข ความรู้ เรื่องอหิวาตกโรค การเชื่อมโยงข้อมูลจากการสังเกตกับอหิวาตกโรค คำถามที่ท้าทายนักสาธารณสุขมืออาชีพ. IMPORTANT (1): CHOLERA.

katen
Download Presentation

Cholera: Update

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cholera: Update แพทย์หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค waraluk@health.moph.go.th

  2. ประเด็น • ความสำคัญของอหิวาตกโรค ในทางสาธารณสุข • ความรู้ เรื่องอหิวาตกโรค • การเชื่อมโยงข้อมูลจากการสังเกตกับอหิวาตกโรค • คำถามที่ท้าทายนักสาธารณสุขมืออาชีพ

  3. IMPORTANT (1): CHOLERA

  4. IMPORTANT (2): A milestone in public health John Snow 1813-1858

  5. IMPORTANT (3): Recent Cholera Pandemics • 7th pandemic: • V. cholerae O1 biotype El Tor • Began in Asia in 1961 • Spread to other continents in 1970s and 1980s • Spread to Peru in 1991 and then to most of South & Central America and to U.S. & Canada • By 1995 in the Americas, >106 cases; 104 dead

  6. IMPORTANT (4): 7th Cholera Pandemic – El Tor

  7. IMPORTANT (7) :Recent Cholera Pandemics • 8th pandemic (??) • V. cholerae O139 Bengal is first non-O1 strain capable of causing epidemic cholera • Began in India in 1992 and spread to Asia, Europe and U.S. • Disease in humans previously infected with O1 strain, thus no cross-protective immunity

  8. Knowledge (1):Epidemiology of Vibrio spp. • Vibrio spp. (including V. cholerae) เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในทะเล โดยเฉพาะน้ำกร่อย พบได้ในทะเลลึกด้วย • Vibrio spp. อยู่รอดและเพิ่มจำนวนในน้ำกร่อย ที่อุณหภูมิ 10 – 30องศาเซลเซียส เชื้อที่มีความรุนแรงจะขึ้นสู่ผิวน้ำได้มากกว่า • สมมุติฐาน เชื่อว่าเชื้อกลุ่มนี้มีวิวัฒนาการการอยู่ร่วมกับแพลงตอน และ Chitinous shellfishโดยเป็นรังโรคให้ที่อยู่อาศัย อาหาร • การย่อยไคติน เป็นปัจจัยสำคัญในการอยู่รอดในนิเวศวิทยาทางทะเล • คนที่ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการเป็นรังโรคที่สำคัญในพื้นที่ที่มีมีเชื้อกลุ่มนี้เป็นโรคประจำถิ่น

  9. Vibrio spp. (Family Vibrionaceae) Associated with Human Disease

  10. Knowledge (2):Epidemiology of Vibrio cholerae • อหิวาตกโรค 2500ปี โรคเกิดทั้งแบบประปรายการระบาดใหญ่ • โรคประจำถิ่นของเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่ม pandemic • พบทั่วไปในชุมชนที่มีสุขาภิบาลไม่ดี • การระบาดครั้งที่ 7 ตั้งแต่ 1817 คาดว่าน่าจะเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของการเดินทางทั่วโลก • อหิวาตกโรคแพร่ระบาดผ่านน้ำ และ อาหาร ที่ปนเปื้อน • คนที่ติดเชื้อเป็นพาหะ และรังโรคอยู่ในสิ่งแวดล้อม • ผู้เป็นพาหะส่วนใหญ่มีเชื้อและแพร่ไม่เกิน 1 สัปดาห์

  11. Knowledge (3): Pathogenesis of V.cholerae • ระยะฟักตัว2 – 3วัน • High infectious dose: >108 CFU • 103 -105 CFU with achlorhydria or hypochlorhydria (lack of or reduced stomach acid) • มีอาเจียนอย่างเฉียบพลัน และมีอุจจาระร่วงรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้life-threatening watery diarrhea (15-20 liters/day) • เมื่อเสียน้ำไปมาก ๆ อุจจาระร่วงที่มากจะเปลี่ยนมีลักษณะคล้ายน้ำซาวข้าว มีลักษณะ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีโปรทีน มี mucous ปนเป็นจุด ๆ

  12. Knowledge (4): Pathogenesis of V.cholerae • อหิวาห์ท๊อกซินทำให้เกิดการเสียน้ำ และอิเลคโตไลท์ ได้แก่ โซเดียม โปรแทสเซียม และ ไบคาร์บอเนต • ระดับโปรแทสเซียมในเลือดต่ำ;หัวใจเต้นผิดจังหวะและไตวายได้ • อหิวาห์ท๊อกซินมีผลยับยั้งต่อการดูดกลับของโซเดียม และคลอไรด์ของลำไส้เล็ก • Death attributable to: • -ภาวะช็อคจากการเสียน้ำ • -ภาวะที่เมตาบอลิกเป็นกรดเป็นผลจากการเสียไบคาร์บอเนต

  13. Knowledge (5):Treatment & Control • Untreated: 60% fatality • Treated: <1% fatality • Rehydration & supportive therapy • Oral Sodium chloride (3.5 g/L) • Potassium chloride (1.5 g/L) • Rice flour (30-80g/L) • Trisodium citrate (2.9 g/L) • Intravenous (IV) • Doxycycline or tetracycline (Tet resistance may be developing) of secondary value • Water purification, sanitation & sewage treatment • Vaccines

  14. Cholera :Linking Other Disciplines to Human Health AVHRR AVHRR-SST TOPEX-SSA SeaWiFS-Chl-a

  15. Disciplines (1): Microbiology & Vibrio cholerae • การที่เชื้ออหิวาต์ต้องการเกลือในการเจริญเติบโต ทำให้เชื่อว่าบ้านของอหิวาต์อยู่ในทะเล • การพบเชื้ออหิวาต์จากตัวอย่างใต้ทะเลลึก เป็นข้อบ่งชี้ว่าอหิวาห์เป็นสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมในทะเล • เชื้ออหิวาต์เมื่อผ่านลำไส้คน จะมียีนบางตัวที่แสดง และกระตุ้นให้มีการติดเชื้อได้มากกว่าชนิดที่ไม่ยีน ถึง 700เท่า • ความสามารถของเชื้ออหิวาห์ในการผลิต mucinaseช่วยให้เชื้อสามารถเจาะผ่านผนังลำไส้ที่มี mucousได้

  16. Disciplines (2): Marine & Vibrio cholerae • เมื่อกินเชื้ออหิวาต์พร้อมกับอาหารทะเล เชื้ออหิวาต์จะได้ bridging molecules ซึ่งทำให้สามารถติดแน่นกับลำไส้เล็ก • ในกลุ่มแพลงตอนสัตว์ โดยเฉพาะ โคพีพอด ชนิดที่พบมากคือ Eurytemoraในตอนบนของอ่าว Chesapeake และ Acartiaในตอนล่าง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล การวิจัยที่จะศึกษาการเลือก Host ของเชื้อ • การเปลี่ยนแปลงของความเค็ม และอุณหภูมิเป็นตัวทำนายการเกิดอหิวาตกโรคได้ถูกต้องถึงร้อยละ 75.5 – 85.5

  17. DISCIPLINES (3): Cholera – Sea Surface Temperature Bangladesh

  18. Copepod

  19. DISCIPLINES (4): What is Biofilm? • Biofilm เป็นการรวมตัวกันอย่างซับซ้อนของจุลินทรีย์บนพื้นที่แข็ง • ขบวนการสร้าง biofilm เริ่มจากจุลินทรีย์ที่เป็นอิสระได้ยึดกับพื้นที่ • เมื่อจุลินทรีย์กลุ่มแรกสามารถเกาะยึดและสร้าง โคโลนีได้แล้วจะช่วยให้จุลินทรีย์ที่ไม่เกาะยึด เกาะได้ง่ายขึ้น และสร้างเป็นโครงสร้างทางขวาง เพื่อยึดไว้ด้วยกัน • Biofilm ของเชื้อแบคทีเรียช่วยในการต้านทานต่อผงซักฟอก และยาปฏิชีวนะ บนพื้น และที่วางอาหาร การมี biofilm จะทำให้การสุขาภิบาลทำได้ยาก

  20. DISCIPLINES (5): Cholera and the aquatic environment Cholera – single org. Cholera biofilm

  21. DISCIPLINES (6): Probiotics, Prebiotics and Synbiotics • Probiotics : a beneficial bacteria protects diseases. • Prebiotics: Carbohydrate nutrients as food for prebiotics bacteria. • Synbiotics: probiotics + prebiotics

  22. DISCIPLINES (7):Probiotic bact.: bivalave molluscs • ปัจจุบันมีการศึกษาเรื่องของสารอาหารที่มีผลต่อสัตว์ที่มีเปลือกแข็ง ข้างในอ่อนเช่น สัตว์จำพวกหอย • งานวิจัยในห้องทดลองจำนวนมาก กำลังศึกษาถึงสายพันธุ์แบคทีเรียดั้งเดิม ในหอยสแกลลอปซึ่งมีผลในการยับยั้งการเจริญของ เชื้อกลุ่มVibrio sp., Aeromonas hydrophila • Bacillus sp. and Lactobacillus sp.ในการทำให้หอยนางรม (Crassostrea virginica) บริสุทธิ์ จากการยับยั้ง V. vulnificus (Williams et al., 2001)

  23. DISCIPLINES (8): Social sciences, an example on old sari cloth • จากผลการศึกษาทางห้องปฎิบัติการ ทางดาวเทียม นำมาซึ่งเครื่องมืออย่างง่ายที่ใช้ในการกำจัดเชื้ออหิวาต์ • ส่าหรีเก่าที่พับกัน 8 – 10 ชั้นพบว่าจะมีขนาดเหมือนเน็ต 20 มิลลิเมตร ซึ่งเพียงพอในการป้องกันการได้รับเชื้อในระดับที่ก่อโรค ผลทางห้องปฏิบัติการแสดงว่าสามารถลดเชื้ออหิวาต์ที่เกาะอยู่บนแพลงตอนได้ถึง ร้อยละ 99 • 3 ปี ของการศึกษาใน 65 หมู่บ้าน ประชากรเป้าหมาย 133,000 คน ที่ ประเทศบังคลาเทศ พบว่าอุบัติการของผู้ป่วยลดลงครึ่งหนึ่งในกลุ่มผู้ที่ใช้ส่าหรีในการกรองน้ำที่ดื่มเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม และความรุนแรงของโรคก็ลดลงด้วย

  24. QUES. (1): เราสามารถกำจัดอหิวาห์ไปจากโลกได้หรือไม่? • เป็นสิ่งมีชีวิตที่บอบบาง • การติดเชื้อของคนต้องใช้เชื้อจำนวนมาก เป็นแสนตัว • การติดต่อจากคนสู่คนไม่มี • ระยะฟักตัวสั้น • สามารถควบคุมได้โดยที่ไม่ต้องมีวิธีการควบคุมที่เฉพาะเจาะจง เช่นการสุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อมทั่ว ๆ ไป • ประชาชน มีความตระหนักในการทำลายเชื้อ

  25. QUES. (2): ทำไมจึงไม่สามารถกำจัดเชื้ออหิวาห์ให้หมดไปจากโลก? • การคงอยู่ของเชื้อในทะเล • การเพิ่มขึ้นของประชากรโลก • การที่ไม่มีวัคซีนที่ดีพอในการป้องกันโรค • การล้มเหลวในการควบคุม ป้องกันโรคโดยการให้ยาแบบหว่าน การกักกัน การค้า • การพัฒนาของการรักษา • การเปลี่ยนแปลง ของสายพันธุ์อหิวาห์

  26. QUES. (3):What should we do? • Epidemiological surveillance: 1st-2nd Gen. • Environmental sanitation: after 2nd Gen. • Food safety. : MRA • Social communication and health/sanitary education. : Choose to eat strategy, not hot not eat etc.

More Related