1 / 39

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548. สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร. อนุปริญญา : ผลิตบุคลากรระดับกลางในสาขาวิชาที่มี ความจำเป็น ปริญญาตรี : ผลิตนักวิชาการและนักวิชาชีพ

kasie
Download Presentation

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

  2. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร อนุปริญญา : ผลิตบุคลากรระดับกลางในสาขาวิชาที่มี ความจำเป็น ปริญญาตรี : ผลิตนักวิชาการและนักวิชาชีพ ปริญญาโท/ : ผลิตนักวิชาการและ เอก นักวิชาชีพชั้นสูง ป.บัณฑิต/ : ผลิตนักวิชาการและ บัณฑิตชั้นสูง นักวิชาชีพเฉพาะทาง

  3. ระบบการศึกษา • ทวิภาค 2 ภาคปกติ • (15 สัปดาห์/ภาค) • 2. ไตรภาค 3 ภาคปกติ • (12 สัปดาห์/ภาค) • 3. จตุรภาค 4 ภาคปกติ • (10 สัปดาห์/ภาค)

  4. การคิดหน่วยกิต ทฤษฎี : 15 ชม./ภาค = 1 หน่วยกิต ปฏิบัติ : 30 ชม./ภาค = 1 หน่วยกิต ฝึกงาน/ฝึกภาคสนาม/การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์ : 45 ชม./ภาค = 1 หน่วยกิต

  5. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา (1) 1. อนุปริญญา/ปริญญาตรี : สำเร็จมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า 2. ปริญญาตรี(ต่อเนื่อง) : สำเร็จ ปวส. หรือ เทียบเท่า หรือ อนุปริญญา(3 ปี)ที่ตรง หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ที่เปิดสอน

  6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา (2) 3. ป.บัณฑิต : สำเร็จปริญญาตรี ป.บัณฑิตชั้นสูง : สำเร็จปริญญาโท 4. ปริญญาโท : สำเร็จปริญญาตรี 5. ปริญญาเอก : สำเร็จปริญญาตรี / โท

  7. โครงสร้างหลักสูตร(อนุปริญญาและปริญญาตรี)โครงสร้างหลักสูตร(อนุปริญญาและปริญญาตรี) • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป • หมวดวิชาเฉพาะ • หมวดวิชาเลือกเสรี

  8. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป • สังคมศาสตร์ • มนุษยศาสตร์ • ภาษา • วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์

  9. หมวดวิชาเฉพาะ • วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน • วิชาพื้นฐานวิชาชีพ วิชาชีพ • วิชาเอก วิชาโท

  10. หมวดวิชาเลือกเสรี เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในระดับปริญญาตรีตามที่สถาบันอุดมศึกษากำหนด

  11. โครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรีโครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรี

  12. การจัดโครงสร้างปริญญาตรี (1) 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต) สังคม มนุษย์ ภาษา วิทย์/คณิต บังคับ ลักษณะบูรณาการ หรือรายวิชา บังคับ + เลือก เลือก

  13. การจัดโครงสร้างปริญญาตรี (2) 2. หมวดวิชาเฉพาะ (84 หน่วยกิต) วิชาแกน วิชาเอก 3. วิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต) บังคับ บังคับ + เลือก บังคับ บังคับเลือก บังคับ + เลือก

  14. โครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต

  15. โครงสร้างหลักสูตรปริญญาโท (1) แผน ก เน้นการวิจัย • แบบ ก 1 ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์ • แบบ ก 2 งานรายวิชา + วิทยานิพนธ์ แผน ข เน้นการศึกษางานรายวิชา • งานรายวิชา + การค้นคว้าอิสระ

  16. โครงสร้างหลักสูตรปริญญาโท (2)

  17. การจัดโครงสร้างปริญญาโท (1) แผน ก แบบ ก1 วิชาสัมมนา (ไม่นับหน่วยกิต) วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

  18. การจัดโครงสร้างปริญญาโท (2) แผน ก แบบ ก2 งานรายวิชา 12 หน่วยกิต วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

  19. การจัดโครงสร้างปริญญาโท (3) แผน ข ศึกษางานรายวิชาโดยไม่ทำวิทยานิพนธ์ แต่มีการค้นคว้าอิสระ 3 - 6 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

  20. โครงสร้างหลักสูตรปริญญาเอกโครงสร้างหลักสูตรปริญญาเอก แบบ 1 ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์ แบบ 2 งานรายวิชา + วิทยานิพนธ์

  21. โครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาเอกโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาเอก

  22. จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์ อนุปริญญา จำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน ปริญญาโทหรือผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 คน ปริญญาตรี จำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน ปริญญาโทหรือผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 คน อาจารย์ประจำเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้

  23. (ปริญญาโท) จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์ อาจารย์จำนวนอย่างน้อย 5 คน 1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร: อาจารย์ประจำหลักสูตร - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ (3 คน) 2. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.1 ที่ปรึกษาหลัก : อาจารย์ประจำ - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2.2 ที่ปรึกษาร่วม : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน - มีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง

  24. จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาโท)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาโท) 3. ผู้สอบวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ประจำ + ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 4. ผู้สอน : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาโท/ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ในการสอนและการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง

  25. จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก) อาจารย์จำนวนอย่างน้อย 5 คน 1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร: อาจารย์ประจำหลักสูตร - ปริญญาเอก/ศาสตราจารย์ (3 คน) 2. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.1 ที่ปรึกษาหลัก : อาจารย์ประจำ - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2.2 ที่ปรึกษาร่วม : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง

  26. จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ปริญญาเอก) 3. ผู้สอบวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ประจำ + ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 4. ผู้สอน : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ - มีประสบการณ์ด้านการสอนและการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง

  27. จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ป.บัณฑิตและป.บัณฑิตชั้นสูง)จำนวนและคุณสมบัติของอาจารย์(ป.บัณฑิตและป.บัณฑิตชั้นสูง) อาจารย์ประจำจำนวนอย่างน้อย 5 คน 1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร : อาจารย์ประจำหลักสูตร - ปริญญาเอก/รองศาสตราจารย์ 3 คน - ต้องมีประสบการณ์ในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้สอน : อาจารย์ประจำ/ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ปริญญาโท/ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - ต้องมีประสบการณ์ในการสอนและการทำวิจัย อย่างต่อเนื่อง

  28. ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : นักศึกษา (โท + เอก) 1 คน : 5 คน หากมีศักยภาพดูแลนักศึกษาได้มากกว่า 5 คน แต่ต้องไม่เกิน 10 คน การค้นคว้าอิสระ(หลักสูตรปริญญาโท) อาจารย์ที่ปรึกษา : นักศึกษา 1 คน : 15 คน

  29. การลงทะเบียน

  30. ระยะเวลาการศึกษา (1)

  31. ระยะเวลาการศึกษา (2)

  32. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (1)(อนุปริญญา/ปริญญาตรี) • ศึกษาครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนด • ได้แต้มระดับเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 แต้มคะแนน

  33. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (2) (ปริญญาโท) แผน ก 1 - เสนอวิทยานิพนธ์ + สอบปากเปล่า - ผลงานได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ แผน ก 2 - ศึกษารายวิชาครบถ้วน - เสนอวิทยานิพนธ์ + สอบปากเปล่า - ผลงานได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ แผน ข - ศึกษารายวิชาครบถ้วน - สอบประมวลความรู้ข้อเขียนและ/หรือปากเปล่า

  34. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (3) (ปริญญาเอก) • สอบผ่านภาษาต่างประเทศ • สอบผ่านการวัดคุณสมบัติ • เสนอวิทยานิพนธ์ + สอบปากเปล่า • ผลงานได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ • ศึกษารายวิชาครบถ้วน (เฉพาะแบบ 2)

  35. ชื่อปริญญา • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาฯ • หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อปริญญาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

  36. ชื่อปริญญา 1. ปริญญาเชิงวิชาการ • ศิลปศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ 2. ปริญญาเชิงวิชาชีพ 3. ปริญญาเทคโนโลยี

  37. การประกันคุณภาพของหลักสูตรการประกันคุณภาพของหลักสูตร • การบริหารหลักสูตร • ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน • การสนับสนุนและการให้คำแนะนำการศึกษา • ความต้องการกำลังคนหรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

  38. การพัฒนาหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยแสดงการปรับปรุงดัชนีด้านมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาเป็นระยะ ๆ อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี และมีการประเมินทุก ๆ 5 ปี

  39. อุตสาหกรรมหลักที่เป็นเป้าหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมหลักที่เป็นเป้าหมายการพัฒนา • อุตสาหกรรมอาหาร • อุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่น • อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ • อุตสาหกรรมยานยนต์ • อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

More Related