1 / 39

กระบวนวิชา 213342 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)

กระบวนวิชา 213342 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System). ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ 27 พฤศจิกายน 2548 09.00-15.00 น. กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา. Management Information System Organization and Business. Top Management. “Vision”. Strategies. Goals. IT Roles.

vanig
Download Presentation

กระบวนวิชา 213342 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนวิชา213342ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(Management Information System) ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ 27 พฤศจิกายน 254809.00-15.00 น. กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา

  2. Management Information SystemOrganization and Business Top Management “Vision” Strategies Goals IT Roles Middle Management Treats Obj. 2 Operational Management Obj. 1 Obj. 3 Organization ชัยยศ สันติวงศ์ มช.

  3. จุดมุ่งหมายการคิดเชิงกลยุทธ์จุดมุ่งหมายการคิดเชิงกลยุทธ์ เพื่อกำหนดทิศทาง เพื่อเปลี่ยนแปลง เพื่อจัดสรรทรัพยากร คำถามเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ 3 ประการ ตอนนี้เราอยู่ตรงไหน? Where R U? เราต้องการจะไปตรงไหน? Where U go? เราจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร? How we go ? คิดเชิงกลยุทธ์ “Vision”

  4. แบบฝึกหัด ข้อที่ 1 คำถามเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ 3 ประการสำหรับนิสิต ตอนนี้นิสิตอยู่ตรงไหน? นิสิตต้องการจะไปตรงไหน? นิสิตจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร? อธิบายสั้นๆ 2-3 บรรทัด ต่อหัวข้อ

  5. ชวนให้นิสิตคิดเพื่ออะไรชวนให้นิสิตคิดเพื่ออะไร เพื่อกำหนดทิศทางของตนเอง เพื่อเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น เพื่อจัดสรรทรัพยากรให้ได้ประโยชน์สูงสุด องค์กรที่คิดเชิงกลยุทธ์ก็คิดเพื่อประโยชน์เดียวกัน

  6. ลักษณะของการคิดเชิงกลยุทธ์ลักษณะของการคิดเชิงกลยุทธ์ “การบริหารเชิงกลยุทธ์ เริ่มจาก การคิดเชิงกลยุทธ์” • มองภาพรวม • มองอนาคต • มองตนเอง • ประเมินโอกาส • คิดสิ่งใหม่ • คิดถึงเป้าหมาย • คิดถึงการกระทำ

  7. www.ais.co.th www.dtac.co.th www.orange.co.th www.hutch.co.th Strategic Information Systems (SIS) for Competitive Advantage ระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ เพื่อสร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน www.mobilelife.co.th

  8. วัตถุประสงค์ในการเรียน • อธิบายถึงระบบและประโยชน์ของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (strategic information systems: SIS) • อธิบายถึงรูปแบบของแรงทางการแข่งขันของ Porter’s (Porter’s competitive forces model) และเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยองค์กรในการปรับปรุงตำแหน่งทางการแข่งขันได้อย่างไร • อธิบายถึงห่วงโซ่คุณค่าของ Porter’s (Porter’s value chain) และความสัมพันธ์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ • อธิบายถึงขอบเขตในการทำงานที่หลากหลายอันซึ่งแสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถสนับสนุนและรักษาข้อได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรได้

  9. วัตถุประสงค์ในการเรียน • อธิบายและทำความเข้าใจบทบาทของระบบสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต(web-based SIS) และธรรมชาติของการแข่งขันในยุคดิจิตอล • อธิบายถึงการแข่งขันระดับโลกและขอบเขตการทำงานของระบบสารสนเทศในการแข่งขันระดับโลก • อธิบายถึงตัวอย่างระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์และประโยชน์ที่ระบบเอื้อให้แก่องค์กร • อธิบายถึงประเด็นต่างๆ ในการติดตั้งใช้งานรวมถึงความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้นในระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์

  10. SISs เอื้อประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาเชิงกลยุทธ์ให้กับความกดดันทางธุรกิจ 5 ประการ ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SISs) ต้องการส่วนลด คู่แข่ง Online ตัดค่านายหน้า การประมูล Online ตัดคนกลาง

  11. เพื่อคงสภาพองค์กรให้สามารถแข่งขันได้เพื่อคงสภาพองค์กรให้สามารถแข่งขันได้ บริการ ความเร็ว ต้นทุน คุณภาพ ลูกค้าได้รับบริการที่ดีขึ้น ลูกค้าได้รับการตอบสนองที่เร็วขึ้น ลูกค้าราคาที่เหมาะสม ลูกค้าได้รับความพึงพอใจ ระบบสารสนเทศจะช่วยได้อย่างไร

  12. องค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์องค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • มีการวางแผนงานล่วงหน้า(Strategic plan, Business Plan) 2. บริหารเชิงตอบสนอง(ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม) 3. นวัตกรรมเชิงก้าวหน้า (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

  13. บทบาทของ IT • IT สร้างสรรค์โปรแกรมการใช้งานที่ช่วยสร้างประโยชน์เชิงกลยุทธ์ให้กับองค์กร • IT คืออาวุธหนึ่งในการแข่งขัน • IT สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ อาทิ การยกเครื่ององค์กร หรือการเปลี่ยนกระบวนการทางธุรกิจ (HAM) • IT รวมคู่ค้าธุรกิจเข้าเป็นเครือข่ายพันธมิตร (EDI,Winstore) • IT ช่วยลดต้นทุน (7-11 and SCM) • IT อำนวยความฉลาดความสามารถเพื่อการแข่งขันทางธุรกิจ

  14. Internet Pig Auction online market Importer Bidder e-Banking Work at home then log in username & password to registration with e -banking Data of Pigs HAM-Server Washing Weigthing Identifying Internet Network Data for price set up And go to be Monitored to bidder If two or more bidders press buttons, the price is automatically raised by $0.02 / Kg. Until only one bidder remains. The successful bidder gets pig Logistic Management Go to people who win prize

  15. IT รวมคู่ค้าธุรกิจเข้าเป็นเครือข่ายพันธมิตร • (Virtual Private Network ;VPN) เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อความรวดเร็วและเพื่อการรักษาความลับการรักษาความลับ ด้วยการส่งข้อมูลที่มีการเข้ารหัส(Encryption) เช่น EDI (Electronic Data Interchange) ผู้ให้บริการ เครือข่าย EDI • Thai Trade Net Co.,Ltd. • Tiffa EDI Services Co.,Ltd. • General Electronic Commerce Co.,Ltd. • Advaned Integration Co.,Ltd. Manufacturers Merchant

  16. e-Marketing Strategy http://www.3dcake.com

  17. E-Marketinghttp://www.thaigem.com

  18. ข้อได้เปรียบทางการแข่งขันในเศรษฐกิจบน web กลยุทธ์การแข่งขัน ค้นหาข้อได้เปรียบ ทางการแข่งขันใน อุตสาหกรรมอันซึ่ง นำไปสู่การ ควบคุมตลาด ข้อได้เปรียบในการแข่งขัน มองหาปัจจัยเชิง แข่งขันอันซึ่งช่วย ให้องค์กรยังคง สามารถแข่งขัน กับคู่แข่งได้ ข้อได้เปรียบที่ยั่งยืนเชิงกลยุทธ์ ต่อสู้ต่อแรงต่างๆ ที่กำหนด การแข่งขันในอุตสาหกรรม เพื่อคงรักษาตำแหน่งที่ สร้างกำไรและทำให้ องค์กรยั่งยืนเอาไว้ให้ได้ ตลาดต้องการอะไร เราเก่งเรื่องอะไร เราทำอะไรได้ดีในสภาวะที่กำลังแข่งขันMan ,Money, Machine, Management, Material

  19. แรงในการแข่งขันทั้ง 5 ของ Porter Porter’s 5 Competitive Forces • อุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดของผู้แข่งขันรายใหม่ • อำนาจการต่อรองของ suppliers • อำนาจการต่อรองของลูกค้า (ผู้ซื้อ) • อุปสรรคของสินค้าหรือบริการทดแทน • การแข่งขันอย่างดุเดือดระหว่างองค์กรที่คงอยู่ในอุตสาหกรรม

  20. กลยุทธ์เพื่อการตอบสนอง (Porter, 1985)Three Generic Model of M.E. Porter เป็นผู้นำด้านต้นทุน นำเสนอสินค้าและ บริการที่มีต้นทุน ถูกที่สุดกว่า ทุกองค์กร ในอุตสาหกรรม สร้างความแตกต่าง สร้างเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร ไม่มีใครเหมือน ในอุตสาหกรรม จุดมุ่งเน้น เลือกสรรตลาด เฉพาะ(niche market) และทำให้ภารกิจการ เป็นผู้นำด้านต้น ทุนและ/หรือ การสร้างความแตกต่าง ประสบผลสำเร็จ

  21. กลยุทธ์เพื่อการตอบสนอง (added by Porter and others) การเติบโต (GROWTH) เพิ่มส่วนแบ่งการตลาดเข้าถึงและสร้าง ลูกค้ากลุ่มใหม่ๆให้กว้างกว่าเดิม หรือเสนอขายสินค้าให้มากยิ่งขึ้น • การปรับปรุงประสิทธิภาพภายในองค์กร • (IMPROVE INTERNAL EFFICIENCY) • เพื่อปรับปรุงความพึงพอใจ • ของพนักงานและลูกค้า • พันธมิตร (ALLIANCES) • ทำงานร่วมกับคู่ค้าธุรกิจเพื่อสร้างปฏิบัติการร่วม • และเอื้อไปสู่โอกาสในการเติบโตด้วยกัน • การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า (CRM) • วิธีต่างที่มุ่งเน้นลูกค้า เช่น ลูกค้าคือพระเจ้า • พระราชา (พระราชินี) นวัตกรรม (INNOVATION) Developing new products & services

  22. กรณีศึกษา Sport for All • แบ่งกลุ่มตามโต๊ะที่นั่ง • ให้นักศึกษาอ่านกรณีศึกษาแล้วตอบคำถามในช่วงบ่าย • โดยส่งตัวแทนมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน กลุ่มละไม่เกิน 5 นาที

  23. Sports for All by Porter’s Model ศักยภาพของคู่แข่งรายใหม่ ผู้ขายหรือผู้ลดราคาจากต่างประเทศ ผู้ค้าปลีกเดิมเปลี่ยนกลยุทธ์มาสู่ร้านขายสินค้าราคาถูก ผู้ค้าในอินเตอร์เน็ต อำนาจต่อรองของ Supplier ผู้ผลิตสินค้าในสหรัฐอเมริกาผู้ผลิตจากต่างประเทศ รัฐบาลท้องถิ่น ผู้ให้บริการสินค้าและบริการด้าน อุปกรณ์กีฬา อำนาจต่อรองของผู้ซื้อ ผู้บริโภคในเมืองเล็กๆ ของสหรัฐอเมริกา ผู้บริโภคในเมืองใหญ่ของสหรัฐอเมริกา ผู้บริโภคชาวเม็กซิโกหรือคานาดา ผู้บริโภคจากประเทศอื่นๆ ลูกค้าระดับองค์กร การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม Wal-Mart คู่แข่งรายใหญ่Kmart, Target, คู่แข่งอื่นๆ ร้านสินค้ากีฬาเฉพาะ,ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก สินค้าหรือบริการทดแทน สั่งซื้อสินค้าทางไปรษณีย์หรือจากแคตตาล็อก สั่งซื้อสินค้าจากโทรทัศน์ (home shopping network) สั่งซื้อสินค้าจากอินเตอร์เน็ต การตลาดทางไกล ชมรมหรือกลุ่มจัดซื้อต่างๆ การขายตรงถึงบ้านลูกค้า

  24. ห่วงโซ่คุณค่า(The Value Chain) Administrative Coordination & Support Services Human Resource Management Advantage Technology Development Procurement of Resources Inbound Logistics Operations Outbound Logistics Marketing and Sales Customer Service Competitive

  25. กิจกรรมขั้นต้น การจัดส่งแบบนำเข้า (in puts) การปฏิบัติการ (ผลิตและทดสอบ) การจัดส่งแบบนำออก (เก็บรักษาสินค้าสำเร็จและการส่งกระจายสินค้า) การตลาดและการขาย การบริการ รูปแบบห่วงโซ่คุณค่าของ Porter ห่วงโซ่อุปทานSupply Chain Inbound Logistics Operations Outbound Logistics Marketing and Sales Customer Service

  26. กิจกรรมสนับสนุน โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล การพัฒนาเทคโนโลยี การจัดซื้อจัดจ้าง รูปแบบห่วงโซ่คุณค่าของ Porter Administrative Coordination & Support Services Human Resource Management Technology Development Procurement of Resources

  27. ระบบคุณค่า • ห่วงโซ่คุณค่าขององค์กรเป็นส่วนหนึ่งของกระแสกิจกรรมต่างๆ ในขนาดที่ใหญ่ขึ้นอันซึ่ง Porter เรียกว่า “Value System” • ซึ่งรวมถึง supplier ผู้จัดหา inputs ที่จำเป็นและห่วงโซ่คุณค่าของ supplier เหล่านั้นทุกคนด้วย • ความคิดนี้ใช้ได้สำหรับทั้งสินค้าและบริการ ในทุกองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน • เป็นพื้นฐานของการบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)

  28. ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) แบบ Web-based • ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์หลายแบบในช่วงปี 70-90 ใช้งานอยู่บนระบบเครือข่ายจำเพาะขององค์กรหนึ่งๆ หรือเรียกได้ว่า ระบบสารสนเทศเชิงองค์กร (organizational information systems: OISs) • ระบบต่างๆ ในแบบ EDI-based ถือเป็นกุญแจสำคัญ • ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของการแข่งขัน • ในบางกรณี ระบบสารสนเทศทำให้ขั้นตอนการทำธุรกิจแบบดั้งเดิมล้มหายไป อาทิ Encyclopedia Britannia

  29. ตัวอย่างของ EDI/Internet-based SIS(สำหรับองค์กรแบบเอกเทศ) • การประมูล ขายทอดตลาดแบบอิเล็กทรอนิกส์ • การประกวด/ประมูลราคา (e-Auction) • การค้าที่มุ่งเน้นที่ผู้ซื้อ • การแลกเปลี่ยนกับองค์กรเดี่ยวอิสระ • การขายตรง(e-bay Marketing)

  30. E-Marketing or Internet Marketinge-Marketing Strategy ; http://www.ecplaza.net

  31. การเติบโตขององค์กรที่ดำเนินการในสภาพแวดล้อมระดับโลก • องค์กรที่ใหญ่ระดับโลกหรือองค์กรข้ามชาติ • องค์กรที่ดำเนินการด้านส่งออก-นำเข้าสินค้าต่างประเทศ • องค์กรที่เผชิญกับการแข่งขันด้านแรงงานราคาถูกและแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ • องค์กรที่มีแหล่งการผลิตในต่างประเทศที่ต้นทุนต่ำ • องค์กรขนาดเล็กที่สามารถใช้งานe-commerce เพื่อซื้อ-ขายข้ามชาติ

  32. กรอบของตัวขับเคลื่อนระดับโลก (Ivers et al., 1993) • ความสำเร็จขององค์กรที่ดำเนินธุรกิจในสภาพแวดล้อมของการแข่งขันขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่อระหว่างระบบสารสนเทศขององค์กร และกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจระดับโลกขององค์กร • กรอบนี้นำไปสู่เครื่องมือเพื่อการกำหนดตัวขับเคลื่อนธุรกิจระดับโลกขององค์กร • ตัวขับเคลื่อนจะมองไปที่ความจำเป็นเน้นการติดตั้งใช้งานระบบที่กว้างขวางทั่วโลกทั้งในปัจจุบันและอนาคต

  33. กรณีศึกษา: Dell.com ปัญหา: การแก้ไข: ผลที่ได้รับ: • ช่วยลดเวลาในการจัดส่ง • ช่วยลดต้นทุนการดำเนินธุรกิจ

  34. e-Marketing Strategy http://www.dell.com

  35. กรณีศึกษา: Caterpillar Corporation ปัญหา: • Caterpillar เป็นผู้ผลิตเครื่องจักรหนักชั้นนำของโลก เคยประสบปัญหาการแข่งขันอย่างรุนแรงจากบริษัทหลายแห่งจากญี่ปุ่น การแก้ไข: • ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในระบบการผลิตและใช้หุ่นยนต์แทนคน • ระบบบริหารสินค้าคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ • ระบบบริหารห่วงโซ่อุปทานด้วย web-based • ระบบเครือข่ายองค์กรที่เชื่อมโยงทั่วโลกและ EDI • มีหน่วย Sensory Intelligent ติดไปกับผลิตภัณฑ์ ผลที่ได้รับ: • Caterpillar ได้เรียนรู้ประสบการณ์ อาทิ ความสำเร็จขั้นสูงเมื่อคู่แข่งบีบให้องค์กรต้องปรับเปลี่ยนสู่กลยุทธ์ใหม่

  36. การติดตั้งใช้งานระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) • ประเด็นสำคัญที่จะต้องได้รับการพิจารณา : • เหตุผลอันสมควร • การแสดงเหตุผลอันสมควรในการใช้ SIS อาจเป็นข้อยากเนื่องจากธรรมชาติและประโยชน์ของ SIS ไม่สามารถจับต้องได้ • ความเสี่ยงและความล้มเหลว • ขนาดงานที่ใหญ่ ซับซ้อน เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ไม่เคยหยุดนิ่งอาจส่งผลต่อความล้มเหลวใน SIS • แสวงหาระบบ SIS ที่เหมาะสม • กำหนดระบุระบบ SIS ที่เหมาะสมไม่ใช่งานง่ายๆ

  37. สร้างความยั่งยืนให้ SIS & ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ • ปัญหาหลักที่องค์กรประสบคือการสร้างความยั่งยืนในฐานะที่ SIS คือข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน • มี 3 วิธีหลัก ได้แก่ • สร้างระบบภายในองค์กรอันซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้โดยคู่แข่ง • อำนวยระบบที่ครอบคลุม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ และมีค่าใช้จ่ายสูงอันซึ่งยากต่อการลอกเลียน • รวม SIS เข้ากับการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ซึ่งรวมถึงกระบวนการทางธุรกิจ การยกเครื่องและปรับเปลี่ยนองค์กร

  38. ประเด็นด้านการบริหาร • การปลูกฝัง SIS มีความเสี่ยง การลงทุนที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) มีค่าใช้จ่ายสูง • SIS ต้องการการวางแผนงาน การวางแผน SIS เป็นเรื่องสำคัญขององค์กร

  39. ประเด็นด้านการบริหาร (ต่อ) • การสร้างความยั่งยืนให้ข้อได้เปรียบทางการแข่งขันเป็นเรื่องท้าทายยิ่ง เมื่อองค์กรเติบโตและซับซ้อนขึ้น สามารถพัฒนาทรัพยากรเพื่อลอกเลียนระบบต่างๆ ของคู่แข่งได้อย่างรวดเร็ว • ประเด็นเชิงจริยธรรม การได้มาซึ่งข้อได้เปรียบทางการแข่งขันด้วยการใช้ IT อาจเกี่ยวเนื่องถึงการขาดจริยธรรมหรือกระทำผิดกฎหมายได้ เพราะองค์กรสามารถใช้ IT ในการตรวจสอบกิจกรรมและปฏิบัติการขององค์กรอื่นๆ และอาจใช้ IT บุกรุกล่วงล้ำการทำงานของคู่แข่งได้ง่ายขึ้น

More Related