1 / 81

แนวทางการดำเนินการตามโครงการตรวจประเมินการจัดการความรู้ สำนัก / กอง

แนวทางการดำเนินการตามโครงการตรวจประเมินการจัดการความรู้ สำนัก / กอง. เกณฑ์ KMA. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร หมวดที่ ๒ การวางแผนยุทธศาสตร์ หมวดที ๓ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสีย หมวดที่ ๔ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้

karli
Download Presentation

แนวทางการดำเนินการตามโครงการตรวจประเมินการจัดการความรู้ สำนัก / กอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินการตามโครงการตรวจประเมินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการตามโครงการตรวจประเมินการจัดการความรู้ สำนัก/กอง

  2. เกณฑ์ KMA • หมวดที่ ๑ การนำองค์กร • หมวดที่ ๒ การวางแผนยุทธศาสตร์ • หมวดที ๓ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสีย • หมวดที่ ๔ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ • หมวดที่ ๕ การมุ่งเน้นทรัพยารกบุคคล • หมวดที่ ๖ การจัดการกระบวนการ • หมวดที่ ๗ ผลลัพธ์

  3. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 1 การนำองค์กร (Leadership) หมวดการนำองค์กร กล่าวถึงวิธีการที่ผู้บริหารของสำนัก/กอง สื่อสารและถ่ายทอดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นระยะยาว ค่านิยม และความคาดหวังในผลการดำเนินการของสำนัก/กอง โดยให้ความสำคัญกับวิธีการที่ผู้บริหารของสำนัก/กองสื่อสารกับบุคลากร และการสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการดำเนินการที่มีจริยธรรมและผลการดำเนินการที่ดี รวมถึงระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งการสนับสนุนชุมชน

  4. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning) การวางแผนเชิงกลยุทธ์ เป็นการตรวจประเมินว่าสำนัก/กองจัดทำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผน ปฏิบัติการในงานที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนัก/กองอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินการนำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่เลือกไว้ไปปฏิบัติ การปรับเปลี่ยนเมื่อสถานการณ์เปลี่ยนไป ตลอดจนวิธีการวัดผลความก้าวหน้า

  5. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer Focus) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเน้นความสำคัญที่กระบวนการที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในปัจจุบันและอนาคต เพื่อนำเสนอผลผลิตและบริการที่เหมาะสมทำความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังใหม่ ๆ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และติดตามให้ทันการเปลี่ยนแปลงของวิธีการดำเนินการ

  6. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management) สำนัก/กองต้องนำระบบการวัดและการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่กรมกำหนดไปสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งกำหนดแนวทาง วิธีการ วัด วิเคราะห์ ผลการดำเนินการตามหน้าที่รับผิดชอบเฉพาะสำนัก/กอง ให้เป็นระบบและถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งระบบทั่วทั้งสำนัก/กอง เพื่อใช้ติดตามการปฏิบัติงานประจำวันและผลการดำเนินงานตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร รวมถึงนำข้อมูลและสารสนเทศมาเรียนรู้เพื่อให้เกิดนวัตกรรม โดยผลักดันให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาองค์กรพร้อมทั้งมีกระบวนการจัดการความรู้ที่สามารถจัดเก็บความรู้ให้คงอยู่กับองค์กรอย่างยั่งยืน

  7. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Workforce Focus) สิ่งที่สำคัญที่สุดในปัจจุบันจะต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่งคือการบริหารจัดการ ทุนมนุษย์ (Human Capital) ซึ่งเป็นวิธีการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันยุคเศรษฐกิจ การให้ความสำคัญกับการบริหารคน นับตั้งแต่การสรรหาคัดเลือก พัฒนาองค์ความรู้ สร้างแรงจูงใจ และการรักษาคน การพัฒนาความรู้ สมรรถนะ ทักษะ ดังนั้น สำนัก/กองจะต้องบริหารจัดการและพัฒนาเพื่อให้บุคลากรมีศักยภาพที่ดีที่สุด ผู้บริหารองค์กรจะต้องส่งเสริมให้บุคลากรมีความสามารถจัดการแก้ปัญหา เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีความกระตือรือร้น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเป็นผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

  8. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) หมวดการจัดการกระบวนการ เป็นหมวดหลักของเกณฑ์ในด้านกระบวนการที่สำคัญทั้งหมด เกณฑ์หมวดนี้เป็นที่รวมของข้อกำหนดต่างๆ เพื่อให้การจัดการกระบวนการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการปรับปรุงกระบวนการที่สำคัญด้านผลผลิตและบริการ เพื่อการสร้างคุณค่าต่อผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจ ขององค์กร ตลอดจนการปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์กร

  9. เกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กองเกณฑ์การประเมินการจัดการความรู้สำนัก/กอง หมวด 7 ผลลัพธ์ (Result) ในหมวดผลลัพธ์ เป็นการตรวจประเมินผลการดำเนินการและการปรับปรุงในด้านที่สำคัญทุกด้านขององค์กร ได้แก่ ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ที่มีต่อการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ ที่มีผลต่อผู้รับบริการ ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ที่มีต่อบุคลากร ในหน่วยงาน และผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ที่เชื่อมโยงกับการนำองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม โดยหน่วยงานควรมีข้อมูลเชิงเปรียบเทียบย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป

  10. หมวด 1

  11. หมวด 1 1.1

  12. หมวด 1 1.2

  13. หมวด 1 1.3

  14. หมวด 1 1.4

  15. หมวด 1 1.5

  16. หมวด 1 1.6

  17. หมวด 1 1.7

  18. หมวด 1 1.8

  19. หมวด 1 1.9

  20. หมวด 1 1.10

  21. หมวด 2

  22. หมวด 2 2.1

  23. หมวด 2 2.2

  24. หมวด 2 2.3

  25. หมวด 2 2.4

  26. หมวด 2 2.5

  27. หมวด 3

  28. หมวด 3 3.1

  29. หมวด 3 3.2

  30. หมวด 3 3.3

  31. หมวด 3 3.4

  32. หมวด 3 3.5

  33. หมวด 3 3.6

  34. หมวด 4

  35. หมวด 4 4.1

  36. หมวด 4 4.2

  37. หมวด 4 4.3

  38. หมวด 4 4.4

  39. หมวด 4 4.5

  40. หมวด 4 4.6

  41. หมวด 4 4.7

  42. หมวด 4 4.8

  43. หมวด 4 4.9

  44. หมวด 5

  45. หมวด 5 5.1

  46. หมวด 5 5.2

  47. หมวด 5 5.3

  48. หมวด 5 5.4

More Related