1.05k likes | 1.81k Views
หมวด 1 การนำองค์กร. การกำหนดทิศทางองค์กร วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ (ระยะสั้น/ยาว) ผลการดำเนินการ ที่คาดหวัง. การกำหนดทิศทางองค์กร ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. ส่วนราชการ/ผู้บริหาร อธิบดี รองอธิบดี ผอ.สำนัก/กอง. บุคลากรในองค์กร สื่อสาร 2 ทิศทาง
E N D
การกำหนดทิศทางองค์กร • วิสัยทัศน์ • ค่านิยม • เป้าประสงค์ • (ระยะสั้น/ยาว) • ผลการดำเนินการ • ที่คาดหวัง • การกำหนดทิศทางองค์กร • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ส่วนราชการ/ผู้บริหาร • อธิบดี • รองอธิบดี • ผอ.สำนัก/กอง • บุคลากรในองค์กร • สื่อสาร 2 ทิศทาง • รับรู้เข้าใจ • นำไปปฏิบัติ 2
วิสัยทัศน์(Vision) วิสัยทัศน์ หมายถึง ข้อความหรือถ้อยแถลงที่ระบุในอนาคตของหน่วยงาน และการดำเนินงานที่ต้องการสร้างให้เกิดขี้น (means and ends) ภายใต้เงื่อนไขของสภาพการณ์ที่ได้ศึกษาวิเคราะห์เอาไว้
หลักในการเขียนวิสัยทัศน์หลักในการเขียนวิสัยทัศน์ - สั้น กะทัดรัด จดจำง่าย บอกถึงความปรารถนา ความท้าทาย - บอกให้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการจะบรรลุถึงหรือระดับของการให้บริการ - เร้าความสนใจของสมาชิกทุกคนในองค์การ รวมทั้งผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย
องค์ประกอบ( เกณฑ์ ) ที่ควรมีของวิสัยทัศน์ Market position Specialization Opportunity Scope of Bussiness Competitive advantage and Value Timeframe
ตัวอย่างวิสัยทัศน์(Vision)ของกรมบังคับคดีประจำปีงบประมาณพ.ศ.2552-2555ตัวอย่างวิสัยทัศน์(Vision)ของกรมบังคับคดีประจำปีงบประมาณพ.ศ.2552-2555 “ กรมบังคับคดีเป็นองค์นำ (ระดับอาเซียน) Market positionด้านการบังคับคดีSpecialization ภายใต้ระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐScope of Bussiness ด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีที่ทันสมัยOpportunity โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ภายในปี 2555”Timeframe
ตัวอย่างวิสัยทัศน์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย “เป็นผู้นำผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วิสัยทัศน์ธนาคารกรุงเทพ “จะเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย” มุ่งผลสัมฤทธิ์
ค่านิยมร่วม หมายถึง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคคลากรที่องค์การต้องการให้เกิด/มีเพื่อให้การปฏิบัติราชการบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนด หรือเป็นหลักในการทำงานร่วมกันที่อธิบายถึงวิธีการที่องค์การกำกับตนเองในการสร้างผลงานตามพันธกิจให้เกิดผล หรือหลักการพื้นฐาน ความเชื่อที่แฝงอยู่ในวิสัยทัศน์และพันธกิจ
ทำไมต้องกำหนดค่านิยมร่วมทำไมต้องกำหนดค่านิยมร่วม 1. เพื่อให้ทุกคนในองค์กรมีหลักปฏิบัติที่เป็นไปในทางเดียวกัน 2. เป็นรากฐานของการสร้างองค์กรที่ดี 3. เป็นเข็มทิศให้ทุกคนยึดถือในการทำงานร่วมกัน 4. เป็นหลักที่องค์กรใช้ในการตัดสินใจหรือใช้ตัดสินปัญหา ข้อขัดแย้งในการทำงาน
ตัวอย่างค่านิยมของ กรมบังคับคดี ด้วยจิตบริการ วิทยาการล้ำเลิศ ชูเชิดธรรมาภิบาล เชี่ยวชาญการบังคับคดี
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์การ เก่ง + ดี ค่านิยมหลักขององค์การ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ 11
ขั้นตอนการดำเนินการLD1 • จัดทำFlow Chartการทบทวน ทิศทางองค์กร ระบุผู้รับผิดชอบ กรอบเวลาชัดเจน และต้องสอดคล้องกับพันธกิจขององค์กร • นำความความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาประกอบการพิจารณาด้วย อาจจากการสอบถามความคิดเห็น หรือเชิญเข้าร่วมในการกำหนดทิศทางองค์กร • กำหนดช่องทาง และสื่อสารทิศทางองค์กร • ติดตามประเมินผลการสื่อสารทิศทางองค์กร ใน 3 ประเด็น คือรับรู้ เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ
5. วิเคราะห์ขั้นตอนในการกำหนดทิศทางองค์กร และวิธีการหรือช่องทางการสื่อสารว่ามีประสิทธิภาพหรือไม่ และจัดทำข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ต้องแสดงความแตกต่าง ว่าขั้นตอนเดิมกับใหม่แตกต่างกันอย่างไร ปรับปรุงแล้วดีขึ้นอย่างไร เช่น • เดิมรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มผู้รับบริการ ภายหลังได้เชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมให้ความเห็นด้วย ทำให้ทิศทางองค์กรที่กำหนดสอดคล้องทั้งความต้องการความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากยิ่งขึ้น • เดิมสื่อสารผ่าน Web Site แจ้งเวียน หลังจากประเมินแล้วพบว่าไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรเนื่องจากคนไม่ค่อยอ่าน จึงปรับปรุง โดยทุกครั้งที่ผู้บริหารจะเริ่มประชุมประจำเดือนจะต้องพูดเรื่องทิศทางขององค์กรให้ข้าราชการรับทราบ เป็นต้น
หลักฐานของตัว D คือ • แบบสำรวจเพื่อแสดงผลการรับรู้ เข้าใจ ต้องถูกต้องตามหลักสถิติวิจัย (ไม่ควรน้อยกว่า 10% ของจำนวนข้าราชการ หรือไม่น้อยกว่า 400 ชุดสำหรับหน่วยงานขนาดใหญ่ ) ทั้งนี้ผลการสำรวจความพึงพอใจต้องไม่น้อยกว่า 60% • ในการสำรวจการรับรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปปฏิบัติงาน ควรแยกประเด็นคำถามให้ชัดเจน หากใช้คำถามเดียวกันทั้งหมดจะไม่สามารถตอบโจทย์ได้ครบถ้วนทั้ง 3 ประเด็น
วิธีสุ่มถามจากบุคลากร ดังนั้น ส่วนราชการต้องผลักดันเรื่องนี้ จนมั่นใจว่า บุคลากรรับรู้และ เข้าใจในทิศทางองค์กรในประเด็นที่กำหนด ซึ่งส่วนราชการจะผ่านในประเด็นนี้ได้บุคลากรที่ถูกสุ่มถามต้องมีความรู้ ความเข้าใจในทิศทางองค์กรไม่น้อยกว่า 50% ของผู้ถูกสำรวจ เช่น ถาม 10 คน ต้องตอบได้ไม่น้อยกว่า 5 คน • ในกรณีของส่วนราชการระดับกรม จะครอบคลุมส่วนกลางที่ไปตั้งอยู่ที่ภูมิภาคด้วย
ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติระดับรอง ทำงานเป็นทีม ตัดสินใจทันท่วงที ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใช้ศักยภาพการทำงานเต็มที่ รายงานผลการดำเนินการ การทบทวน การมอบอำนาจ • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 • พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 16
ขั้นตอนการดำเนินการLD2 • จัดทำคำสั่งมอบอำนาจ โดยอำนาจที่มอบเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับพรฎ.ว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 • ผู้รับมอบอำนาจรายงานผลการใช้อำนาจที่ได้รับมอบอำนาจ • สรุปผลการใช้อำนาจในภาพรวมและจัดทำข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการมอบอำนาจ
กระบวนการ • กิจกรรมการเรียนรู้ • การมีส่วนร่วม ผู้บริหาร เป้าหมายองค์การ • บรรยากาศที่ดี • การบูรณาการ • ความร่วมมือ • ความผูกพันองค์กร • แรงจูงใจการปฏิบัติงาน บุคลากร 19
ขั้นตอนการดำเนินการLD3 • คัดเลือกกิจกรรม เพื่อให้บุคลากรมีความร่วมมือ ความผูกพัน และมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน อาจนำข้อมูลจากการสำรวจHR1 ประกอบการพิจารณา หรือ จากการสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรภายในหน่วยงาน • จัดทำแนวทาง/แผนงาน/โครงการ ประจำปีที่ชัดเจน เกี่ยวกับกิจกรรมสร้างบรรยากาศ
ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่กำหนด • ติดตามผล โดยจัดทำแบบสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรต่อกิจกรรมที่จัดว่าสามารถสร้างความผูกพัน และร่วมมือ และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานได้หรือไม่ • จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกิจกรรมเสนอผู้บริหาร
แผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคคลแผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล ประกอบด้วย - นโยบายด้านการเรียนรู้ขององค์กรและบุคคลเพื่อ บรรยากาศที่ดี การบูรณาการ ความร่วมมือ ความผูกพันองค์การ และแรงจูงใจ การปฏิบัติงาน(นโยบายแต่ละด้านตามวัตถุประสงค์) - แนวทางปฏิบัติ - มาตรการ/โครงการ - การนำไปปฏิบัติและประเมินผล - ขออนุมัติและประกาศ -ใช้สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างความเข้าใจ และการติดตามประเมินผล
แผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากรแผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากร
การทบทวนผล การดำเนินการ • แผนประเมินผลการปฏิบัติงาน • กำหนดแนวทาง • ระยะเวลา • ผู้รับผิดชอบ • กำหนดตัวชี้วัด • สำคัญ • อาจทำเป็น • แผนภาพ • (Flowchart) • ตัวชี้วัดสำคัญ • การติดตามประเมินผล • การดำเนินการตาม • ยุทธศาสตร์ • การบรรลุพันธกิจหลัก • ตัวชี้วัดแผนงาน/ • โครงการ วิเคราะห์ผลเทียบกับค่าเป้าหมาย นำผลการทบทวน จัดลำดับความสำคัญ ปรับปรุงองค์การ 24
ตัวชี้วัดที่สำคัญ หมายถึง ตัวชี้วัดที่ส่งผลกระทบสูงต่อความสำเร็จขององค์กร ซึ่งผู้บริหารต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ ต้องครอบคลุม 3 ประเภท คือตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ
เกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัด เช่น นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ส่งผลกระทบต่อประชาชนส่วนมาก มีผลกระทบสูงต่อการบรรลุยุทธศาสตร์ขององค์กรเป็นต้น
ตัวชี้วัดที่สำคัญ หมายถึง ตัวชี้วัดที่สำคัญที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการของส่วนราชการ
ตัวชี้วัดที่สำคัญ หมายถึง ตัวชี้วัดที่ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการของส่วนราชการ
แผนในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย • แนวทางการติดตามประเมินผลของแต่ละตัวชี้วัด เช่น ตัวชี้วัดของแผนงานโครงการ ติดตามจากร้อยละการเบิกจ่ายตามแผนที่กำหนด • กรอบระยะเวลาในการติดตามของแต่ละตัวชี้วัด เช่น ติดตามราย 1 เดือน รายไตรมาส ราย 6 เดือน และ 12 เดือน • ผู้รับผิดชอบในการติดตามประเมินผล คือผู้ที่ได้รับมอบหมายในการติดตามผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดแต่ละตัว
การนำผลการทบทวนมาจัดลำดับความสำคัญ หมายถึง • การนำผลการปฏิบัติงานที่ไม่ได้ตามเป้าหมายมาจัดลำดับความสำคัญเพื่อทำให้ทราบว่าตัวชี้วัดใดต้องแก้ไขก่อน หรือหลัง ทั้งนี้ต้องกำหนดเกณฑ์ฯการจัดลำดับความสำคัญ เพื่อใช้ในการพิจารณา เช่น งบประมาณในการดำเนินการ ระยะเวลาในการดำเนินการ ความพร้อมของส่วนราชการ ผลกระทบที่เกิดขึ้นหากตัวชี้วัดไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นต้น
ขั้นตอนการดำเนินการ • จัดทำFlow Chart การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ • กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ • จัดทำแผนในการติดตามประเมินผลตัวชี้วัด ต้องประกอบด้วยชื่อตัวชี้วัด แนวทางการติดตาม กรอบระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ • กำหนดเกณฑ์ในการจัดลำดับความสำคัญของผลการทบทวนตัวชี้วัดเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินงานให้ดีขึ้น
5 ติดตามประเมินผลตัวชี้วัดตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแผนการติดตามผลการปฏิบัติงาน และรายงานให้ผู้บริหารรับทราบ 6 จัดลำดับความสำคัญของผลของตัวชี้วัดตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในข้อ 3 และรายงานผลการจัดลำดับความสำคัญให้ผู้บริหารรับทราบ 7ทบทวนปรับปรุงกระบวนการดำเนินการเพื่อให้ตัวชี้วัดเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
8รายงานผลการดำเนินการของตัวชี้วัดที่สำคัญ เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ผู้บริหารรับทราบ • ทบทวนหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ และแผนการติดตามประเมินผล โดยพิจารณาจากผลการดำเนินการที่ผ่านมา และจากปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง • นำผลการทบทวนดังกล่าวไปกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญและแผนในการติดตามตัวชี้วัดของปีงบประมาณต่อไป
เกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญของตัวชี้วัดเกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญของตัวชี้วัด ใช้สูตรการจัดลำดับความสำคัญตามน้ำหนัก(คะแนน)ของตัวชี้วัด โดยกำหนด คะแนน 1 เท่ากับ สำคัญ น้อย คะแนน 2 เท่ากับ สำคัญ ปานกลาง คะแนน 3 เท่ากับ สำคัญ มาก ตัวชี้วัดที่มีคะแนนรวมมากอันดับ 1 เท่ากับ เป็นตัวชี้วัดที่ต้องติดตามมากเป็นพิเศษ คะแนนรวมอันดับ 2 เท่ากับ เป็นตัวชี้วัดที่ต้องติดตามมาก คะแนนรวมอันดับ 3 เท่ากับ เป็นตัวชี้วัดที่ต้องติดตามปานกลาง
วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมหลักองค์กร/หลักธรรมาภิบาล GG. • นโยบาย OG 4 ด้าน • ด้านรัฐ สังคม • และสิ่งแวดล้อม • ด้านผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้ • ส่วนเสีย • ด้านองค์การ • ด้านผู้ปฏิบัติงาน มาตรการ/โครงการ แนวทางปฏิบัติ 36
ขั้นตอนการจัดทำ ขั้นตอนการ เตรียมการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ขั้นตอนการจัดทำร่าง นโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 3. ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักขององค์การ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 7จัดทำแผนปฎิบัติการเพื่อนำสู่การปฎิบัติ: สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ส่งเสริม ผลักดัน ติดตาม รายงานผลและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง กระบวนการที่จะนำไปปฏิบัติให้เกิดผล 37
การวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีการวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล มาตรการ/ โครงการ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเมินผล แนวทางปฏิบัติ ด้านผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน 38
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์การ เก่ง + ดี ค่านิยมหลักขององค์การ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ 40
ข้อสังเกตุ • กำหนดแนวทาง (Flow Chart)( แสดงกระบวนการจัดทำ ทบทวน ปรับปรุงนโยบาย) ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และช่องทางสื่อสาร • จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ในการส่งเสริมการนำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ครบ 4 ด้าน • แผนงานโครงการที่มีคุณภาพพิจารณาจาก โครงการ/มาตรการสอดรับนโยบาย ต้องแสดงดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าของกิจกรรม • ต้องทบทวนนโยบายทุกปี
ดำเนินการตามแผนงานโครงการ ทั้ง 4 ด้าน • ติดตามผลการดำเนินงานโครงการและวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ • รายงานผลการดำเนินแต่ละโครงการและวิเคราะห์ผลการดำเนินการในภาพรวมตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีพร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงให้ผู้บริหารรับทราบ
การควบคุมภายใน • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • ประหยัด • การดูแลรักษาทรัพย์สิน • การป้องกันความเสี่ยง • การป้องกันความผิดพลาด • การป้องกันความเสียหาย • การรั่วไหล • การสิ้นเปลือง • การป้องกันการทุจริต • การดำเนินการ • กำหนดแนวทาง/วิธีดำเนินการ • อาจทำเป็นแผนภาพกระบวนการ • วางระบบควบคุมภายในตาม • แนวทางของ คตง. • รายงานความคืบหน้าการวาง • ระบบต่อผู้บังคับบัญชา • รายงานผลการปรับปรุงตาม • แบบ ปอ.3 • จัดทำข้อเสนอแนะแผนปรับปรุง 43
ขั้นตอนการดำเนินการ LD6 • กำหนดผู้รับผิดชอบ • กำหนดขอบเขต( ประเมินทั้งระบบหรือบางส่วน) • ศึกษาทำความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ วิธีการ รูปแบบของระบบควบคุมภายใน • จัดทำแผนการประเมินผล • ประเมินผล • วิเคราะห์จุดอ่อน ความเสี่ยงของระบบควบคุมภายในและจัดทำรายงาน
พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (3) “ก่อนเริ่มดำเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการวิเคราะห์ผลดี ผลเสียให้ครบทุกด้าน กำหนดขั้นตอนการดำเนินการที่โปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน ในกรณีใดที่มีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น” • แนวทางดำเนินการ • มาตรการ วิธีการจัดการ • ผลกระทบทางลบ • มาตรการป้องกัน • (กรณีไม่มีผลกระทบทางลบ) • อาจทำเป็นแผนภาพ • กระบวนการ • มีการรายงานผลการจัดการ • มีการทบทวนวิธีการจัดการ • ปรับปรุงแนวทาง/ • มาตรการ/วิธีการ • มาตรการที่กำหนด • สอดคล้องกับพันธกิจของ • องค์การ 45
ขั้นตอนการดำเนินการ LD 7 • กำหนดขั้นตอนในภาพรวมในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม • วิเคราะห์การดำเนินการตามภารกิจที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อชุมชนและสังคม • จัดทำมาตรการป้องกัน และมาตรการแก้ไขผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม • ดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด • รายงานผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด และรายงานสรุปผลการทบทวนมาตรการการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม พร้อมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะในการปรับปรุงมาตรการฯ ให้ผู้บริหารรับทราบ
LD7การวิเคราะห์ผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคมLD7การวิเคราะห์ผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม
แผนปฏิบัติการการป้องกันผลกระทบทางลบจากการปฏิบัติงานของกรมแผนปฏิบัติการการป้องกันผลกระทบทางลบจากการปฏิบัติงานของกรม
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 1 49
หมวด 2การวางแผนยุทธศาสตร์