300 likes | 618 Views
เตรียมความพร้อมระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อรองรับการประเมินภายนอกรอบสาม โดย ดร.สมชาย สังข์สี (หากนำไปใช้ กรุณาเขียน Comment ให้ด้วย). 1.ระบบประกันคุณภาพภายใน 2.ประเมินภายนอกรอบสาม.
E N D
เตรียมความพร้อมระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินภายนอกรอบสามโดยดร.สมชาย สังข์สี(หากนำไปใช้ กรุณาเขียน Comment ให้ด้วย)
1.ระบบประกันคุณภาพภายใน2.ประเมินภายนอกรอบสาม1.ระบบประกันคุณภาพภายใน2.ประเมินภายนอกรอบสาม ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นไปตาม พรบ.กศ 42 (สอดคล้องกับ ม.48,50 และ51) เป็นไปตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ (ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553)
กฎกระทรวงศึกษาธิการ(ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553) หมวด 1 บททั่วไปข้อ 3 ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย(1) การประเมินคุณภาพภายใน (2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา(3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพ (QC) กระบวนการพัฒนาสู่คุณภาพ กระบวนการ ปรับปรุง คุณภาพ การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) กระบวนการ ตรวจสอบ คุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu) • การประเมินคุณภาพ • ภายใน (IQA) • ภายนอก (EQA)
กฎกระทรวงศึกษาธิการ (ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553) ข้อ 14 ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการดังต่อไปนี้ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(2) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ(4) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา(5) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา(6) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(7) จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน(8) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพภายใน
แนวทางการดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายในแนวทางการดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายใน การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการตามที่กำหนดในวรรคหนึ่งได้ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แล้วแต่กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทางในการประกันคุณภาพภายในให้เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้นแล้วรายงานให้รัฐมนตรีทราบ
แนวทางการปฏิบัติตามระบบการประกันคุณภาพภายในแนวทางการปฏิบัติตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ใช้มาตรฐานของต้นสังกัด 18 มฐ. ++ ตบช.ที่จำเป็นให้สอดคล้อง กับ สมศ. ทั้งปฐมวัย/ประถมและมัธยม (1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (2) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.แผนพัฒนาคุณภาพ (ยุทธศาสตร์3-5ปี) 2.แผนปฏิบัติการประจำปี 1.ข้อมูลผู้เรียน จำนวน / ผลสัมฤทธิ์ 2.ข้อมูลครู/บุคลากร 3.ข้อมูลทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนรู้ เงิน/แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา/สื่อ/อุปกรณ์ (3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ (4) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการตามแผนงาน / โครงการ กิจกรรม ตามที่กำหนดไว้ ร่วมกันอย่างจริงจังและอย่างต่อเนื่อง
แนวทางการปฏิบัติตามระบบการประกันคุณภาพภายในแนวทางการปฏิบัติตามระบบการประกันคุณภาพภายใน แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และให้มีหน้าที่จัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน โดยให้บุคลากรของสถานศึกษานั้นหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นคณะกรรมการประเมิน 6.จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นำผลการประเมินมาสรุปเป็น SAR รายงานต่อ ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยงข้อง สาธารณชน และใช้ผลประเมินเป็นฐานการพัฒนาในปีต่อไปโดยดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (7) จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน(8) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
(2) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ข้อ 16 การจัดทำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ 14 (2)ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ2) กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และความสำเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม3) กำหนดวิธีดำเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อนำไปสู่มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้
(2) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (ต่อ) 4) กำหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ5) กำหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรียนรับผิดชอบและดำเนินงานตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ6) กำหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครองและองค์กรชุมชน7) กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ8) จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
การประเมินภายนอก “การประเมินคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาการติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทำโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือผู้ประเมินภายนอก
สมศ.ประเมินภายนอกตามกฎกระทรวงสมศ.ประเมินภายนอกตามกฎกระทรวง กฎกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 กำหนดให้ สมศ.ประเมินสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานชาติและให้ครอบคลุมเรื่องดังนี้ มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่ พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมือง และพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ มาตรฐานตามกฎกระทรวง 1.มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา 2.มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการ 3.มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4.มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการศึกษาชาติ (3 มาตรฐาน) มาตรฐานตามกฎกระทรวง 1.มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา 2.มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการ 3.มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4.มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน หรือมาตรฐานของต้นสังกัด(สพฐ.18 มาตรฐาน ++) ตัวบ่งชี้เพื่อการ ประเมินภายนอกรอบ 3 ( 3 กลุ่ม 12 ตัวบ่งชี้ ) มาตรฐานการศึกษา เพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก สอดคล้อง
การพัฒนาตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินรอบ 3 1.กำหนด ตบช.มุ่งผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ2.คำนึงลักษณะประเภทสถานศึกษา3.เน้น ตบช.ทั้งคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและลบ4.ตระหนักถึงปัจจัย ข้อจำกัด วัฒนธรรม และความเป็นไทย5.ให้มี ตบช.เท่าที่จำเป็นโดยเพิ่ม ตบช.อัตลักษณ์และมาตรการส่งเสริม6.คำนึงถึงความเชื่อมโยงประกันภายในและการประเมินภายนอก
ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินรอบ 3 1.กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน (8 ตบช.)2. กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ (2 ตบช.) 3. กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม (2 ตบช.)
1.กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน1.กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา 2.กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 3.กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
รูปแบบการประเมินรอบ 3 1.การประเมินเชิงปริมาณ 2. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงพัฒนา3. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ4. การประเมินเชิงคุณภาพ 5. การประเมินเชิงคุณภาพและการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Better)
1.การประเมินเชิงปริมาณ1.การประเมินเชิงปริมาณ 1.การประเมินเชิงปริมาณ (น้ำหนัก 4 คะแนน)คิดจากค่าร้อยละของผลสำเร็จ เช่น นักเรียน 100 คน มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ 90 คน = 90%นักเรียน 100 คน เป็นผู้ปลอดสิ่งเสพติด 96 คน = 96% เฉลี่ย 93%การคิดคะแนน 93 X น้ำหนัก/100 = (93 X 4)/100 = 3.72 จาก 4.00
2. การประเมินเชิงพัฒนา 2.การประเมินเชิงพัฒนาการ (ตบช.1.1 น้ำหนัก 1 คะแนน)คิดจากการเปรียบเทียบผลการประเมินรอบ 3 กับ ผลสำเร็จของปีก่อนรับการประเมิน 1-2ปี (ดูข้อมูลจาก SAR หรือข้อมูลสุขภาพ) ต.ย. กรณีที่ 1ประเมินรอบ 3 ค่าเฉลี่ย 93% = ดีมาก แล้วดูผลสำเร็จย้อนหลัง 2 ปี (จาก SAR หรือข้อมูลสุขภาพ)มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ร้อยละ 90 ขึ้นไป (ดีมาก) ถือว่ามีพัฒนาการ ได้ 1 คะแนนรวมคะแนน ตบช. 1.1 นำคะแนนการประเมินเชิงปริมาณ + คะแนนการประเมินเชิงพัฒนา = (3.72+1) = 4.72 จาก 5.00
2. การประเมินเชิงพัฒนา ต.ย. กรณีที่ 2 หาก ผลประเมินรอบ 3 ค่าเฉลี่ย ต่ำกว่า 90% หรือ ต่ำกว่าดีมาก เช่น ได้ 88 % แล้วดูผลสำเร็จย้อนหลัง 1 ปี ถ้าปีที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับผลประเมินรอบ 3 แล้วน้อยกว่า ร้อยละ 15ถือว่าไม่มีพัฒนาการ คะแนน (0.00) หาก สูงกว่าปีที่ผ่านมาตั้งแต่ร้อยละ 15 ถือว่ามีพัฒนาการ ได้ 1.00 คะแนน
2. การประเมินเชิงพัฒนา 2.การประเมินเชิงพัฒนาการ (น้ำหนัก 0.50 คะแนน)คิดจากการเปรียบเทียบผลการประเมินรอบ 3(เชิงปริมาณ) กับ ผลสำเร็จของปีที่ผ่านมา (ก่อนรับการประเมิน 1 ปี) โดยดูข้อมูลจาก สารสนเทศทางวิชาการ หรือ ป.พ.5 ต.ย. กรณีมาตรฐานที่ 5 มีการพิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
2. การประเมินเชิงพัฒนา ผล ตบช 5.1 ประกอบด้วย การประเมิน เชิงปริมาณ 2 คะแนน+ เชิงพัฒนาการ 0.50 คะแนน) ภาษาไทย ค่าเฉลี่ยปีประเมินรอบ 3 ได้ 60 %= เชิงปริมาณ 1.20 คะแนน (60X2/100) ภาษาไทย ค่าเฉลี่ยปีก่อนรับการประเมิน ได้ 55 % สรุป ภาษาไทย ค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ 5 มีการตัดสินดังนี้ รวมคะแนน ภาษาไทย (เชิงปริมาณ 1.20 +เชิงพัฒนา 0.50) = 1.70
3. การประเมินเชิงคุณภาพ 3.การประเมินเชิงคุณภาพ (น้ำหนัก 3 คะแนน) พิจารณาจากองค์ประกอบที่กำหนด เช่น กำหนดไว้ 3 องค์ประกอบ(ข้อ) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ ได้ 1 คะแนน ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ได้ 2 คะแนน ปฏิบัติได้ 3 ข้อ ได้ 3 คะแนน(กรณีนี้ไม่มีกติกาที่ให้ปฏิบัติเรียงลำดับของแต่ละข้อ)
3. การประเมินเชิงคุณภาพ 3.การประเมินเชิงคุณภาพ (น้ำหนัก 2 คะแนน) พิจารณาจากองค์ประกอบที่กำหนด เช่น กำหนดไว้ 9 องค์ประกอบ(ข้อ1-9) ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ ได้ 0 คะแนน ปฏิบัติได้ 4-6 ข้อ ได้ 1 คะแนน ปฏิบัติได้ 7-9 ข้อ ได้ 2 คะแนน(กรณีมีข้อกำหนดไว้ว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 90 มีคุณลักษณะเป็นผู้เรียนที่ดี ตาม 9 องค์ประกอบ)
4. การพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Better) เป็นการดูการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาที่ดีขึ้นจากการแก้ปัญหาผู้เรียน โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น และ/หรือ การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการเรียนการสอน/การบริหาร การพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาบุคลากร โดยพิจารณาจากจำนวนโครงการที่สถานศึกษาดำเนินการแล้วมีผลการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น (Better)
เกณฑ์การให้คะแนนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Better) เช่น โรงเรียนจัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น และ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาสถานศึกษา จำนวน 20 โครงการ มีผลการประเมินโครงการที่เป็นการพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามวัตถุประสงค์ จำนวน 15 โครงการ คิดเป็น ร้อยละ 75
ผู้บริหารต้องทำอะไร เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการประเมินรอบ 3 1.รู้เรา พัฒนาสถานศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายในของ สพฐ.2.รู้เขา ศึกษาแนวทางการประเมินภายนอกรอบ 33.ผสมผสาน บูรณาการตัวบ่งชี้การประกันภายในและประเมินภายนอกเพื่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ผู้บริหารต้องทำอะไร เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการประเมินรอบ 3 1. เตรียม แผนงาน โครงการ สารสนเทศ การกำกับติดตาม ประเมินผล ให้ครบถ้วนทุกด้าน ตามหลักวิชาการ2. เตรียมเอกสารตามระบบงาน 4 ฝ่าย3. ดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา/ต้นสังกัด/ชุมชน/ผู้ปกครอง4. ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์5. เตรียมครู6. เตรียมใจ
ครูต้องทำอะไร เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการประเมินรอบ 3 1. เตรียม แผนการสอน/หลักสูตร/สื่อ/ข้อมูลผู้เรียน2. นำข้อมูลผู้เรียนมาทำสารสนเทศชั้นเรียน/วิชาที่รับผิดชอบ3. ออกแบบการเรียนรู้ให้ให้สมกลุ่ม เก่ง ปานกลาง อ่อน หรือรายบุคคล5. เตรียมห้องเรียน สื่อ แบบประเมิน ผลการประเมิน การใช้ผลประเมิน การซ่อมเสริม6. เตรียมเอกสารทางวิชาการที่พัฒนาขึ้น สื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่ใช้แก้ปัญหาชั้นเรียน 1 คน/1วิชาที่รับผิดชอบ7.เตรียมร่างกาย จิตใจ ให้พร้อม